Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ 69 ปี Dx. Congestive Heart Failure…
กรณีศึกษา ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ 69 ปี
Dx. Congestive Heart Failure with bronchitis
Congestive Heart Failure
ภาวะที่หัวใจทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ ไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ทำให้มีผลกระทบต่อร่างกายของผู้ป่วย
หัวใจห้องล่างซ้ายวาย(Left ventricular failure)
การบีบตัวของหัวใจล่างซ้ายไม่ดี
ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจลดลง
เนื้อเยื่อได้รับเลือดไม่เพียงพอ
มีการคั่งของเลือดในปอด
รบกวนการทำงานของระบบหายใจ
เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก
อาการ
ใจสั่น
หอบเหนื่อย
หายใจลำบากตอนกลางคืน (Paroxysmal nocturnal dyspnea : PND)
ไอ
หายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)
ปัสสาวะออกน้อย
ซีดเขียว คล้ำ
ชีพจรเบา
หัวใจห้องล่างขวาวาย(Left ventricular failure)
หัวใจห้องล่างขวาทำหน้าที่ลดลง
ไม่สามารถบีบเลือดไปเลี้ยงที่ปอดได้
มีเลือดคั่งอยู่ในระบบไหลเวียน
เลือดคั่งในอวัยวะต่างๆ
บวมที่แขน ขา และท้อง
เลือดที่ไปเลี้ยงสมองและศีรษะไม่สามารถไหลกลับสู่
หัวใจห้องบนขวาได้
หลอดเลือดโป่งที่คอ (JVD)
อาการ
บวมที่ส่วนต่างๆของร่างกายทั้ง 2 ข้าง กดบุ๋ม บวมที่ส่วนต่ำ
ของร่างกาย เช่น แขนขา ข้อเท้า ก้นกบ และอวัยวะเพศ
ตับ ม้ามโต ปวดแน่นท้องหรือเจ็บแปลบที่ท้องด้านขวาส่วนบน จากเลือดคั่งที่ตับ
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน ท้องอืด
น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น มือ นิ้วบวม
ความดันโลหิตสูงขึ้น ความดันเลือดดำส่วนกลางสูง
จากน้ำคั่งในร่างกายมาก
Hepatojugular reflux +
การรักษา
กำจัดโรคหรือสาเหตุซักนำที่ทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว
เช่น โรคระบบไหลเวียน โรคไต
แก้ไขความผิดปกติของโรคหัวใจที่มีอยู่เดิม
ควบคุมภาวะหัวใจล้มเหลว
ลดการทำงานของหัวใจ โดยให้พักผ่อนและจำกัดกิจกรรม
เพิ่มแรงบีบตัวของหัวใจ
Digitalis, Dopamine, Dobutamine
ลดปริมาณน้ำคั่งในร่างกาย
จำกัดเกลือและให้ยาขับปัสสาวะ
การรักษาอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ (Lifestyle modification)
การพยาบาล
ลดการทำงานของหัวใจ (Decreased workload of the heart)
ลดกิจกรรม(Bed rest) ให้พักผ่อนทั้งร่างกายและจิตใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง ปลายเท้าต่ำ
เพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจห้องล่าง
เพื่อเพิ่มปริมาณเลือดที่หัวใจบีบออกจากหัวใจแต่ละครั้ง
แก้ไขปัญหาอวัยวะเป้าหมายที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ไต
เพื่อลดการคั่งของเลือด
ให้ออกซิเจน
เพื่อเพิ่มออกซิเจนในเลือดและกล้ามเนื้อหัวใจ
on cannular 5 LPM
ให้ยา เพื่อลด preload และ afterload
ยากลุ่ม Digitalis
เพื่อเพิ่มความแรงในการบีบตัวของหัวใจและทำให้หัวใจเต้นช้าลง
Digoxin, Digitoxin
ช่วยเพิ่มความสามารถในการบีบตัวของหัวใจ ทำให้เพิ่มStroke volume และ Cardiac output ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ชะลอการนำสัญญาณไฟฟ้าผ่าน AV node
ก่อนให้ยาพยาบาลต้องจับชีพจรหรือฟังอัตราการเต้นของหัวใจ
ถ้าต่ำกว่า 60 ครั้ง/นาที หรือหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ ให้งดยาและรายงานให้แพทย์ทราบ
ยากลุ่ม Betablocker
เพื่อระงับการหลั่ง Stress hormone ลดการเต้นของหัวใจ
มีฤทธิ์ในการยับยั้งประสาทซิมพาเธติค
ภาวะหัวใจล้มเหลวดีขึ้น ผู้ป่วยทำกิจกรรมได้มากขึ้น
ลดอัตราการตายของผู้ป่วย
carveuilol(12.5) ¼ x2 po pc
ยากลุ่ม ACE
เพิ่มการไหลเวียนของเลือด มีผลลดทั้งPreload และ Afterload
ทำให้หลอดเลือดขยายตัว ลดความดันโลหิต และป้องกัน
การถูกทำลายของหัวใจ
ยาขับปัสสาวะ (Diuretic)
Thiazide, Furosemide, Spironolactone
Lasix(40) 1x1 po pc
ลดปริมาตรของน้ำในร่างกาย ลดอาการบวม
ยาเพิ่มประสิทธิภาพการบีบตัวของหัวใจ เพื่อเพิ่ม Stroke volume
ยาขยายหลอดเลือด ลดแรงต้านหลอดเลือดดำ
ยากลุ่มไนโตรกลีเซอรีน
และไนเตรต
หลอดเลือดดำคลายตัว
ลด Preload และมีฤทธิ์ทำให้
ลดความต้องการออกซิเจนของกล้ามเนื้อหัวใจ
บำบัดด้วยยาขยายหลอดเลือดแดง
ลดแรงต้านหลอดเลือดแดง Hydralazine
มีผลการขยายหลอดเลือดแดง
ลดการทำงานของหัวใจ ลด Afterload
ลดแรงต้านทั้งหลอดเลือดดำและแดง
ทำให้เลือดเข้าสู่หัวใจลดลง ลดแรงต้านขณะหัวใจบีบตัว
วินิจฉัย
Chest X- ray
reticular infiltration
Echocardiograpy
อาการและอาการแสดง
หายใจลำบากเมื่อนอนราบ
หายใจหอบเหนื่อย
ไอ
pitting edema 1+
มีโรคประจำตัว : Diabetes Mellitus , Hypertension , Dyslipidemia , Asthma
Diabetes Mellitus type2
ความผิดปกติที่เบต้าเซลล์ของตับอ่อน
มีการสร้างและหลั่ง Insulin ได้น้อยลง
กล้ามเนื้อตับ มีภาวะดื้อต่อ Insulin
Insulin ออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่
เซลล์ไม่สามารถนำน้ำตาลกลูโคส
ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระดับน้้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
เกิดคราบตะกรัน (Plaque) ในผนังหลอดเลือด
2 more items...
กล้ามเนื้อและไขมันสลาย
ได้กรดอะมิโนและกรดไขมัน
ตับเป็นแหล่งในการสร้างน้ำตาลกลูโคส
เข้าสู่กระแสเลือด
ส่งเสริมให้ระดับน้้าตาลในเลือดยิ่งสูงขึ้นกว่าระดับปกติ
Hypertension
การสะสมของแคลเซียมและเส้นใยคอลลาเจนเพิ่มขึ้น
ผนังหลอดเลือดจะเกิดการแข็งตัว
และตีบแคบ
ความสามารถใน
การไหลเวียนของเลือดลดลง
เกิดแรงต้านทานบริเวณหลอดเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
ความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อนในระบบหัวใจ สมอง ไต ตา
ระบบหัวใจ
1 more item...
Dyslipidemia
ระดับไขมัน ในเลือดที่ผิดปกติ
เกิดพยาธิสภาพ
บริเวณผนังชั้นในของหลอดเลือดแดง (Intima)
ระดับไขมัน สะสมเป็นระยะเวลานาน
เกิดแคลเซียมไปสะสมบริเวณหลอดเลือด
ผนังหลอดเลือดแข็งตัว
หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น
1 more item...
Asthma
มีการหดตัวหรือตีบตันของ
ช่องทางเดินหายใจส่วนหลอดลม
อากาศเข้าสู่ปอดน้อยลง
อาการสำคัญ : หายใจหอบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ 2 ชั่วโมง
ก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน : 4 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล หายใจหอบเหนื่อย แน่นหน้าอก พ่นยา Berodual อาการไม่ทุเลา
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล หายใจหอบเหนื่อยมากขึ้น นอนราบไม่ได้ ญาตินำส่งโรงพยาบาล
การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆหลอดลม
การบวมอักเสบของเยื่อบุภายในหลดลม
เสมหะจํานวนมากที่คังค้างอยู่ภายในหลอดลม
หายใจมีเสียงหวีดหรือหอบเหนื่อย เกิดขึ้นทันทีเมื่อได้รับสารก่อโรค (สารภูมิแพ้)
ละอองฝน
แนะนำหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้
berodual 2 puff MDI q 6 hr
Fluimucil(200) 1x3 po pc
ปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้และ
สิ่งแวดล้อมมากกวาคนปกติ ่ ( Bronchial hyper-reactivity)