Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (The Communicative Approach) - Coggle…
แนวการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
(The Communicative Approach)
มุ่งเน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้ และหากผู้เรียนมีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างทางภาษาและคำศัพท์ จะใช้ภาษาในการสื่อสารได้ นักภาษาศาสตร์และ ผู้ที่เกี่ยวข้องได้แสวงหาและพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาต่างประเทศ
แนวคิดพื้นฐาน
เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและเป้าหมายของการสอนภาษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการสื่อสาร ใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสม มีปฏิสัมพันธ์
กับบุคคลอื่น ๆ ในสังคม พูดอะไร กับใคร เมื่อไร ที่ไหน และในลักษณะอย่างไร
ความรู้ความสามารถทางด้านภาศาสตร์หรือไวยากรณ์
(Linguistic or Grammatical Competence)
เสียง ศัพท์เป็นแกนในการสื่อความหมาย สามารถจำแนกเสียงได้
พูดจะต้องออกเสียงได้ถูกต้องและโต้ตอบด้วยสำเนียงและจังหวะที่เจ้าของภาษาพอจะเข้าใจ
อ่านและสามารถ่านเพื่อความเข้าใจได้ (Discourse Makers) ตลอดจนการ
เขียนข้อความในลักษณะต่าง ๆ ได้
ความสามารถทางภาษาศาสตร์สังคม
(Sociolinguistic Competence)
ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมตามระเบียบของสังคม สามารถเลือกใช้ภาษาให้เหมาะสมกับบุคคลและสถานการณ์
ความสามารถในการใช้ความสัมพันธ์ของข้อความ (Discourse Competence)
เชื่อมโยงความหมายทางภาษาให้เข้ากันได้อย่างถูกต้อง
ความสามารถในการใช้กลวิธีในการสื่อความหมาย (Pragmatic Competence or Strategic Competence)
สามารถในการปรับตัวเข้ากับสถานการณ์ ใช้กริยาท่าทาง สีหน้า และน้ำเสียงประกอบในการสื่อความหมาย
ขั้นตอนในการดำเนินการเรียนการสอน
การเรียนการสอนด้วยวิธีสอนตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสารนั้นอาจสรุปขั้นตอนการสอนที่สำคัญ ๆ ได้
3.1. ขั้นเสนอเนื้อหา (Presentation or Introducing New Language)
สามารถใช้ภาษาได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ได้เรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
3.2. ขั้นการฝึก (Practice/Controlled Practice
มุ่งหมายให้ผู้เรียนจดจำรูปแบบของภาษาได้ จึงเน้นที่ความถูกต้องของภาษาเป็นหลัก ทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย และวิธีการใช้รูปแบบภาษา
3.3. ขั้นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (Production/Free Practice)
เปรียบเสมือนตัวกลางที่เชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้เป็นการให้นักเรียนฝึกช้ำ ๆ จนกระทั่งสามารถจดจำและใช้รูปแบบภาษานั้นได้
2.ลักษณะสำคัญ
มุ่งให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อสื่อความหมายได้
2.1 ต้องให้ผู้เรียนรู้ว่ากำลังทำอะไร
เพื่ออะไร
สามารถทำบางสิ่งบางอย่างเพิ่มขึ้นได้ ใช้อุปกรณ์บางอย่างได้ หรือในทักษะพูด
ผู้เรียนสามารถพูตถามทางไปสถานที่ที่ต้องการจะไปได้
2.2 การสอนภาษาโดยแยกเป็นส่วน ๆ
ไม่ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ดีเท่ากับการ
สอนในลักษณะบูรณาการ บางครั้งก็ต้องอาศัยกิริยาท่าทางประกอบ
2.3. ต้องให้ผู้เรียนได้ทำกิจกรรมการใช้ภาษา
เพื่อให้ผู้เรียนนำไปใช้ได้จริง ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเลือกใช้ข้อความที่เหมาะสมกับบทบาทและสถานการณ์ รู้ความหมาย
ของสำนวนภาษาในรูปแบบต่าง ๆ
2.4. ต้องให้ผู้เรียนฝึกการใช้ภาษามาก
สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้ การแก้ปัญหา (Problem Solving) การแสดงบทบาทสมมติ (Role Play)
2.5. ผู้เรียนต้องไม่กลัวว่าจะใช้ภาษาผิด
ผู้สอนไม่ควรแก้ไขข้อผิดพลาดของผู้เรียนทุกครั้ง ควรแก้ไข
เฉพาะที่จำเป็น เพราะอาจทำให้ผู้เรียนขาดความมั่นใจและไม่กล้าใช้ภาษาในการทำกิจกรรม
กลวิธีการสอน
4.1. การใช้สื่อซึ่งเป็นของจริง (Authentic Materials)
เพื่อการแก้ไขปัญหาและเปิดโอกาสให้นักเรียนเรียนภาษาอย่างเป็นธรรมชาติในสถานการณ์ต่าง ๆ
4.2. การเรียงประโยคที่จัดวางอย่างสับสน (Scrambled)
ผู้เรียนได้อ่านข้อความซึ่งเป็นประโยคเรียง และให้ผู้เรียนเรียบเรียงประโยคในบทสนทนาให้ถูกต้อง
4.3. เกมทางภาษา (Language Games)
นำเกมมาใช้ในการสอนเพื่อการสื่อสาร สร้างความสนุกสนานเป็นการฝึกการใช้ภาษาอย่าง
4.4. ภาพชุดเรื่องราว (Picture Strip Story)
การใช้เทคนิคการแก้ปัญหาในการสอนเพื่อการสื่อสาร ซึ่งนิยมใช้ภาพในการสอน มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิด และทำงานร่วมกันเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ
4.5. บทบาทสมมติ (Role-play)
ผู้เรียนมีโอกาสฝึกสนทนาสื่อสารในสภาพสังคมต่าง ๆ
ใครอยู่ในสถานการณ์อะไร จะพูดเกี่ยวกับอะไร