Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์การเปลี่ยนแปรภูมิอากาศ
สาเหตุ
มีฝุ่นละออง ควัน หมอก เขม่า กลิ่น
หรือแก๊สที่เป็นพิษอยู่ในบรรยากาศมากขึ้น
เกิดปัญหาคุณภาพอากาศลดลง
เกิดมลพิษทางอากาศ
สาเหตุของมลพิษทางอากาศ
การปล่อยควันเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
การปล่อยควันเสียจากยานพาหนะ
เกิดภัยธรรมชาติ เช่น ไฟป่า ภูเขาไฟปะทุ
การเผาวัชพืชหรือเศษวัสดุเพื่อเตรียมพื้นที่สําหรับเกษตรกรรม
ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์
ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยการมองเห็นเส้นทางของผู้ขับขี่ยานพาหนะ และอาจนำไปสู่ การเกิดอุบัติเหตุ
เมื่อปนเปื้อนกับฝนหรือแหล่งน้ำผิวดิน ทำให้น้ำมีคุณภาพลดลงหรือเกิดฝนกรด
แนวทางการจัดการคุณภาพอากาศ
ติดตามตรวจสอบการระบายอากาศ จากแหล่งกำเนิดต่างๆ
เฝ้าระวังคุณภาพอากาศด้วยการ ตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ควบคุมมลพทางอากาศ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรแร่และพลังงาน
ผลกระทบจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรแร่และพลังงาน
ทรัพยากรแร่และพลังงานเมื่อนำมาใช้ในปริมาณมากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษ ทางอากาศ มลพิษทางน้ำ จึงจำเป็นต้องนำมาใช้อย่างถูกวิธี และให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมทั้งส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงานของชาติ ทำให้ต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศมากขึ้น
แนวทางการจัดการสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรแร่และพลังงาน
การจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรแร่และพลังงานในหลายประเทศใช้แนวทางพลังงานทางเลือกทดแทนทรัพยากรเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีจำกัด ซึ่งสามารถผลิตและนำมาหมุนเวียนใช้ได้อีกรวมทั้งเป็นพลังงานสะอาดที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานชีวมวล พลังงานน้ำ ในประเทศพัฒนาแล้ว
สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
สาเหตุ
การทำลายป่าเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว
การเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่รวดเร็ว
อุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้น
ไฟป่า
น้ำท่วม
แผ่นดินไหว
ภูเขาไฟปะทุ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายของชนิด
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ผลกระทบจากการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ
นำไปสู่ภาวะโฮโมโซโกซิตี คือ ภาวะพันธุ์แท้ ที่ประชากรสัตว์มีการผสมตัวเองมากขึ้น แท้ ซึ่งอาจมียีนที่เป็นอันตรายต่อการอยู่รอดของประชากรสัตว์ ก่อให้เกิดพันธุ์
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ระบบนิเวศในแต่ละระบบขาดตอน
ทำให้สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เพราะในระบบชีวนิเวศนั้นต้องพึ่งพาอาศัย ซึ่งกันและกัน
ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในการขาดแคลนอาหาร ขาดแคลนโดย เพื่อการผลิตและขาดปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
มีผลกระทบต่อการผลิตยารักษาโรค ในทางการแพทย์มีการเกิดมาจากพืชและสัตว์ในปริมาณมาก
แนวทางการจัดการปัญหาความหลากหลายทางชีวภาพ
ลดการทำลายป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
ออกมาตรการทางกฎหมายคุ้มครองป่า ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่า และปฏิบัติใช้อย่างเข้มงวด
จัดขนบใกล้เคียงตามธรรมชาติ โดยฟื้นฟูหรือพัฒนาพื้นที่เยี่ยมโทรมให้คงความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
จัดให้มีศูนย์อนุรักษ์และพิทักษ์สิ่งมีชีวิตทั้งในถิ่นกำเนิดและนอกถิ่นกำเนิด เพื่อเป็น ที่พักพิงและอนุบาลชั่วคราว ก่อนนำกลับไปสู่ธรรมชาติ
ส่งเสริมการเกษตรแบบไร่นาสวนผสม เพื่อให้มีพืชและสัตว์หลากหลายชนิดมา อาศัยอยู่รวมกัน เป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรดิน
สาเหตุ
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางกายภาพ
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางเคมี
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางชีวภาพ
ผลจากการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรดิน
การเสื่อมสภาพโครงสร้างดินทางกายภาพ
ผลจากการใช้ดินต่อเนื่องมายาวนาน
และการชะล้างดินมีมากขึ้น
อินทรียวัตถุในดินและจุลชีพที่เป็นประโยชน์สูญเสียไป
มีการใช้เครื่องจักรและสารเคมีทำให้ดินขาดการพัฒนาอย่างสมดุลตามธรรมชาติ
แนวทางการจัดการทรัพยากรดิน
เมื่อดินถูกใช้มายาวนาน ต้องมีการไถพรวนระดับลึกเพื่อเป็นการทำลายชั้นด้านในดินเพื่อให้หน้าดินซาบซึมลงดินได้ตลอดทุกชั้นดิน
ปัญหาดินขาดธาตุอาหาร ควรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี และหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทาง ธรรมชาติ ไถกลบซากพืชโดยไม่เผาทำลาย
ปัญหาดินขาดอินทรียวัตถุ ควรปลูกพืชหมุนเวียนประจำปี และปลูกพืชหลากหลายชนิด อย่างผสมผสาน ลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยว เพื่อเพิ่มความชื้นให้กับดิน ให้พืชคลุมดิน และจุลินทรีย์ในดิน ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริหารจัดการการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ โดยลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยว หันมาทำการเกษตร แบบผสมผสาน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอและทั่วถึง เพราะความชื้นในดินมีผลต่อ การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากธาตุอาหารและพัฒนาจุลชีพในดิน
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรน้ำ
สาเหตุ
ที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน แสงแดดจัดและยาวนาน จึงมีอัตราการระเหยของน้ำผิวดินสูง
บางบริเวณยังมีพื้นที่รับน้ำเป็น หินทรายและดินทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี กักเก็บน้ำได้น้อย
ผลกระทบจากการขาดแคลนทรัพยากรน้ำ
จากรายงานของสหประชาชาติระบุว่า ประชากรโลกประมาณ 3,500 ล้านคนขาดแคลน น้ำดื่มที่สะอาดตามหลักสุขาภิบาล ทำให้ประชากรประมาณ 5 ล้านคนต่อปี เสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจาก น้ำไม่สะอาด
เมืองใหญ่หลายแห่งทั่วโลกประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มและน้ำอุปโภคจาก ปริมาณน้ำที่ไม่เพียงพอและมีสารปนเปื้อน
ผลผลิตอาหารจากภาคเกษตรกรรมทั้งพืชอาหารและสัตว์เลี้ยงเพื่อการบริโภคลดลง 213 จนไม่เพียงพอต่อประชากรโลก
แนวทางการจัดการการขาดแคลนทรัพยากรน้ำ
วางแผนการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ทำการเกษตรที่ใช้น้ำน้อย แต่ให้ผลผลิตสูง
สร้างและจัดหาพื้นที่กักเก็บน้ำผิวดินที่ได้จากฝน
จัดการและอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้บริเวณต้นน้ำ เพื่อให้มีปริมาณฝนที่เป็นน้ำต้นทุน ในปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้
สถานการณ์การเปลี่ยนแปรงคุณภาพอากาศ
สาเหตุ
การทิ้งของเสียและสิ่งปฏิกูลจากชุมชน
การปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
การเพาะปลูกโดยใช้สารเคมี ทำให้เมื่อฝนตกสารเคมีที่ตกค้างอยู่ตามผิวดินไหลลงสู่แม่น้ำลำคลอง
ผลกระทบที่เกิดจากมลพิษทางน้ำ
ส่งผลกระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ โดยสารพิษที่อยู่ในแหล่งน้ำทำให้สัตว์น้ำและ พืชน้ำตาย ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำลดลง
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด และท้องเสีย
ส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียที่มีความเป็นกรดและด่างไม่เหมาะสำหรับ ทำการเกษตร
น้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นรบกวน และมีผลกระทบต่อทัศนียภาพ เพราะความสวยงามของ แหล่งน้ำสามารถใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือจัดกิจกรรมทางน้ำเพื่อความบันเทิงได้
แนวทางการจัดการมลพิษทางน้ำ
สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาคุณภาพของแหล่งน้ำ และการอนุรักษ์น้ำ
รณรงค์ให้หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ มีการบำบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ
ลดปริมาณการใช้น้ำ และลดปริมาณขยะในครัวเรือน
ไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล หรือสารพิษลงในแหล่งน้ำต่าง ๆ
สถานการณ์ทรัพยากรป่าไม้
สาเหตุ
การเพิ่มพื่นที่เกษตรกรรม
การเกิดไฟไหม้ป่า
การสร้างเขี่ยนกักเก็บน้ำ
การปลูกสร้างและจัดสาธารณูปโภคของรัฐ
การทำเมืองแร่
การทำการทำลายของสัตว์ป่าและสัตว์เลี้ยง
การทำการทำลายของเชื้อโรคและแมลง
การปลุกป้องรักสาปลาไม่เข้มแข็งและเด็ดขาด
การทำป่าไม้
ผลกระทบจากการสูญเสียพื้นที่ป่าไม้
การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ทำให้ปริมาณและชนิดสัตว์ป่าและพืชพรรณลดลง
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ทำให้เกิดความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล สภาพอากาศ เปลี่ยนแปลง เช่น เกิดลมพายุที่รุนแรงมากขึ้น
เมื่อฝนตกหนักและไม่มีต้นไม้ยืดเกาะหน้าดิน ทำให้เกิดดินถล่มบริเวณเขตภูมิประเทศ ลาดชันลงมาทับบ้านเรือน และทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน
ป่าไม้ลดลง ทำให้ระบบอุทกวิทยาในพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปกติพื้นที่ป่าไม้ จะมีน้ำไหลรินอยู่ในพื้นที่ป่าตลอ ตลอดเวลา แต่เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย ระบบลำห้วย ลำคลอง แม่น้ำเกิดการ ขาดแคลนน้ำ ความชื้นในดินมีการระเหยมากขึ้น
เมื่อป่าไม้ลดลง ทำให้สูญเสียที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และมนุษย์
แนวทางการจัดการทรัพยากรป่าไม้
ลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่า โดยทุกประเทศจะต้องมีมาตรการและแนวทางในการ ป้องกันการตัดไม้ทำลายป่าอย่างเคร่งครัด เพื่อรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงสภาพเดิม
ป้องกันการสูญเสียป่าไม้ที่เกิดจากไฟป่าในทุกประเทศ เช่น สร้างแนวกันไฟรอบพื้นที่ หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมที่เป็นเหตุให้เกิดไฟป่า
การฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ เช่น การปิดป่า การประกาศเป็นเขตอนุรักษ์
การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ด้วยการปลูกป่าทดแทนป่าไม้ที่ถูกทำลาย