Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 15 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนา …
หน่วยที่ 15
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนา
การเกษตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
15.1 กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์การส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
15.1.1 การวิเคราะห์และกระบวนการวิเคราะห์การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายของการวิเคราะห์
การจำแนกแยกแยะสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยการทดลองในการสังเกต
ปรากฏการณ์รอบตัว ทำการแตกประเด็นอย่างมีระบบขององค์ประกอบหรือปัจจัยเพื่อหาหลักการความสำคัญของโครงสร้างและระบบด้วย “ความรู้เชิงลึก” ให้เกิดการ “กำหนดรู้”
กระบวนการสำคัญในการวิเคราะห์ระบบ
การประเมินค่าเบื้องต้น
กำหนดทางเลือกที่เหมาะสมหลายทางเลือก
การตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลและแหล่งข้อมูลในการวิเคราะห์
การสืบค้นและวิเคราะห์กลยุทธ์กลวิธี
วิธีการเทคนิค และเครื่องมือเพื่อให้เกิดผล
การกำหนดเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่ระบุ
การสร้างเครื่องมือและตัวชี้วัดในการวัดผลแนวทาง
การกำหนดปัญหาในสถานการณ์“ที่ไม่แน่นอน”
15.1.2 การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนา
การเกษตรด้านนวัตกรรม
พื้นฐานทางความคิดการวิเคราะห์ที่สำคัญ
การวิเคราะห์ระบบเพื่อหาทางตอบโจทย์ที่พึงปรารถนา
แนวทางการวิเคราะห์ของภาคเอกชน
การสร้างสรรค์ความคิดเพื่อตอบโจทย์
กระบวนการบูรณาการ
การปรับเปลี่ยนระบบย่อยในหน่วยปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องให้เกิดความสมดุล
การวิเคราะห์ข้อมูล
กำหนดจุดมุ่งหมายให้ขอบเขตชัดเจน
ใช้หลักการใดเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์
ต้องรู้ว่าควรจะวิเคราะห์อย่างไรโดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ
เทคนิคการวิเคราะห์ที่สำคัญ
ในการวิเคราะห์นวัตกรรมในองค์กร
การวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
การวิเคราะห์การตลาดในรูปแบบที่สำคัญ
(การไล่เรียงคุณลักษณะต่าง ๆ ที่เป็นไปได้)
การวิเคราะห์วิธีการของความคิดสร้างสรรค์
(มีการใช้หลักอุปมาอุปมัย เพื่อเปรียบเทียบความต้องการ)
การวิเคราะห์แบบสร้าง “ภาพอนาคต”
กรอบสำคัญของข้อมูลในการวิเคราะห์
กระแสสังคม
เทคนิคและวิธีการรวบรวมข้อมูลป้อนแก่ผู้ดำเนินการ
การวินิจฉัยนวัตกรรม
เหตุผลของการวิเคราะห์เพื่อคาดการณ์แนวโน้ม
และหาคำตอบโจทย์ที่เหมาะสม
15.1.3 การสังเคราะห์และกระบวนการสังเคราะห์
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรม
ความหมายของการสังเคราะห์
“การบูรณาการองค์ประกอบหรือปัจจัยที่มีความ
สัมพันธ์กันด้วยหลักการของเหตุและผล (rationality) โดยการเชื่อมโยงประเด็น “ปัญหาความต้องการเหมือนกัน” และ “ทางออก” ที่มีลักษณะเป็น “สถานการณ์ที่จำเป็น” ที่ผ่านการวิเคราะห์แยกแยะสืบค้นเพื่อเป็นองค์ประกอบร่วมหรือปัจจัยร่วมของการแสวงหา “การตอบโจทย์ที่เป็นทางเลือกหรือทางออกของโอกาส”
ข้อพิจารณาในการสังเคราะห์
นวัตกรรมก้าวกระโดด (disruptive innovation) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนรูปแบบ
การขยายตัวของสังคมเมือง ในกลุ่มประเทศตลาดเกิดใหม
กระแสภูมิภาคนิยม (regionalization) ที่จะเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกที่มีระดับการพัฒนาที่ต่างกันทั้งประเทศที่เจริญกว่า
กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูล
ด้านนวัตกรรมภาคเกษตรและอาหาร
การมีกรอบแนวคิดที่เหมาะสม
จัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจน
การกำหนดประเด็นปัญหา หรือความต้องการ
การจัดกลุ่มข้อมูลเรื่องราว ที่มีแนวคิดเดียวกันเอาไว้ด้วยกัน
กำหนดเป้าหมายในการสังเคราะห์
เรียงลำดับตามขั้นตอนของประเด็นหรือหัวข้อ
ผลลัพธ์คือ เกิดสิ่งใหม่ แนวคิดใหม่ ที่ทำให้เห็นภาพที่ชัดเจนออกมา คือทางเลือกใหม
15.2 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
15.2.1 ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
พื้นฐานความคิดของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องการแก้ปัญหาและสาเหตุ
หลักของภาคเกษตรและอาหาร
กำหนดกลยุทธ์หลักของการดำเนินการสู่เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้นั้น จะเน้นแนวทาง “ประโยชน์ของการร่วมมือกัน
กำหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก คือ กลุ่มเป้าหมายเครือข่าย (เช่น วิสาหกิจชุมชน สหกรณ์ ฯลฯ) ที่มี “ความพร้อม” คือมีความต้องการในการปรับเปลี่ยนการเข้าสู่การผลิตครบวงจร
การกำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน ว่า “การขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม” ภายใต้บรรยากาศ “เศรษฐกิจดิจิทัล” นั้นมุ่งสู่ภาพรวมอนาคต (scenario) ที่หลักที่กำหนดไว้ชัดเจน
ปัญหาและสาเหตุสำคัญที่เป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรมของการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การเปลี่ยนแปลงและปรับตัวทางการตลาดของผู้ผลิตอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารบางอย่างในไทย
นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตในประเทศไทยไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดและผลิตไม่ครบวงจร
การส่งออกภาคอาหารและอุตสาหกรรมเกษตร
การพัฒนาแบบยั่งยืน
หนี้ในครัวเรือน
ความจำเป็นในการพัฒนาผู้ประกอบการการเกษตรและอาหารให้รับมือได้ต่อการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดดของโลก
15.2.2 แนวคิดการเข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สาเหตุที่ประเทศไทยต้องขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
การขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกยังคงอ่อนแอและอาจหดตัวต่อเนื่อง
ความสำคัญของการใช้นโยบายทางการเงินและการคลัง และการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
การผลิตที่ล้นความต้องการของตลาดสร้างปัญหาในการใช้ทรัพยากรและวัตถุดิบ
การปรับเปลี่ยนของภาคการเกษตรและอาหาร
เข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
แนวคิดด้าน “ความรับผิดชอบต่อสังคม” ในรูป Corporate Social Responsibility: CSR
แนวคิดเทคโนโลยีดิจิทัลและการขับเคลื่อนโลกด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดการยกระดับมาตรฐานอาหารไทยและความเป็นเอกลักษณ์ด้านรสชาติอาหารไทยสู่ภาคอุตสาหกรรม
แนวคิดด้านพลังงานทางเลือกด้านพลังแสงอาทิตย์และพลังงานอื่น ๆ ของไทยเพื่อภาคเกษตรและอาหาร
การขับเคลื่อเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน
การเพิ่มตลาดใหม่ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความหลากหลายและลดความเสี่ยงในการพึ่งพาโดยเฉพาะพืชสำคัญที่ไทยมีศักยภาพ
พื้นฐานความคิดที่เกี่ยวข้อง
15.2.3 ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญของเศรษฐกิจ
ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ทางเลือกเพื่อตอบโจทย์ด้านโครงสร้างเศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมที่เกิดความเป็นไปได้
ของเส้นทาง
กลุ่มสินค้าเป้าหมายตามยุทธศาสตร์เชิงรุกที่สมดุล
การดูแลเน้นหนักเศรษฐกิจท้องถิ่น
การเสริมสร้างศักยภาพเศรษฐกิจของไทยของภาคเอกชนของเอสเอ็มอีม
ภาคเอกชนจะมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
การปรับตัวตามทางเลือกใหม่ของเอสเอ็มอีภาคเกษตรและอาหารด้วยการเน้นเอสเอ็มอีไทยที่มีความพร้อม
การปฏิบัติตามเงื่อนไข
กระแสของโลกด้านการพัฒนา
การดำเนินการที่ตอบสนองมาตรฐานโลกของภาคเกษตรและอาหารด้านการเพิ่มคุณค่ามากขึ้น
การปฏิบัติตามเงื่อนไขการพัฒนาด้านการลดความเหลื่อมล้ำ การมีส่วนร่วมของชุมชน และพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
15.3 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรมต่อการเปลี่ยนแปลง
15.3.1 การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการตอบโจทย์ของการกระจายความเสมอภาคในด้านเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม
ความสามารถรับมือได้กับประเทศไทย 4.0
ในสภาวะปกติใหม่ (New Normal)
การลดความเสี่ยงน้อยที่สุด มีความเป็นไปได้ในการสามารถปฏิบัติร
การปรับเปลี่ยนบางด้านเมื่อกลุ่มเป้าหมายและชุมชนเริ่มมีระดับการพัฒนาสูงขึ้น
การตอบโจทย์ในอนาคตที่มีความเป็นไปได้
การกำหนดยุทธศาสตร์
การทำงาน 4 ระยะของกระทรวงพาณิชย์ในร่างยุทธศาสตร์พาณิชย์ 20 ปี (2559-2579) คือ
ดำเนินการแบบเร่งด่วน ปฏิรูปการค้าด้วยการปรับกฎหมาย วางระบบการค้า
ผลักดันให้ไทยอยู่ในห่วงโซ่สำคัญของภูมิภาค พัฒนาผู้ประกอบการให้สามารถเป็นผู้นำ
เป็นห่วงโซ่สำคัญของโลกในการยกระดับให้ไทยเป็นคู่ค้าสำคัญในตลาดโลก
เน้นการพัฒนาศักยภาพของประเทศ ให้ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยเป็นผู้ค้าสำคัญในตลาดโลก
เป้าหมายของยุทธศาสตร์ที่สำคัญ
การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจของการค้าของประเทศ
การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจการค้าของประเทศ
การสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและการค้าของประเทศ
การปรับตัวภาคการเกษตร
และอาหารเข้าสู่ระบบสมาร์ทฟาร์ม
ใช้เทคโนโลยีทางการเกษตรที่เกิดความแม่นยำสูง
มีการใช้ระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติ
15.3.2 กลุ่มเป้าหมายภาคเกษตรและอาหารด้านนวัตกรรมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
กระบวนการพัฒนากลุ่มเป้าหมายเครือข่ายให้เป็นผู้ประกอบการครบวงจรและเอสเอ็มอี
สินค้าและบริการตามมาตรฐานสากล ตามที่มีการกำหนดเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
มีการพัฒนาสินค้า นวัตกรรมให้ตอบสนองความคาดหวังของกลุ่มเป้าหมายลูกค้าในตลาดทุกรูปแบบ
15.3.3 แนวคิดการประสานพลังเพื่อนวัตกรรมในชุมชน
ด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประสานพลัง (synergy)
ประชารัฐในการสนับสนุนนวัตกรรม
เน้นการทำงานร่วมกันระหว่างประชาชน รัฐ และเอกชนด้านการสนับสนุนนวัตกรรม เช่น
การประสานพลังในระดับชาติ
การประสานพลังในระดับท้องถิ่นเพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรในท้องถิ่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ปัจจัยเกี่ยวข้องกิจกรรม
การประสานพลังด้านนวัตกรรม
การบูรณาการ
การสนับสนุนนวัตกรรมให้เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของคนในองค์กร
การปรับเปลี่ยน
การทดแรงเพิ่มพลัง
บทบาทของนักส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการประสานพลังเพื่อสร้างนวัตกรรม
เป็นผู้กระตุ้น
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
ผู้สนับสนุนการจัดตั้งองค์กร(organizer)และประสานงานสนับสนุนการบริหารจัดการองค์กร
เครือข่ายให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดในวิสัยทัศน์ขององค์กร
ผู้แนะนำแหล่งข้อมูล
คุณลักษณะที่สำคัญของแกนนำกลุ่มเป้าหมายในการสร้างนวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
สามารถแปรวิกฤตเป็นโอกาสได้
คุณสมบัติการมีแรงบันดาลใจสู่ความสำเร็จและมีเลือดนักสู้อย่างมีเหตุมีผล
การเปลี่ยน “ปัญหา” เป็น “ปัญญา”
มีความคิดที่ “คิดนอกกรอบ” ในการแสวงหาโอกาสใหม่ๆ ด้วยการกำหนดภาพรวมชีวิตใหม่
เข้ารับการบ่มเพาะ ความรู้ด้านธุรกิจเพื่อกำหนดกลยุทธ์ที่สร้างความสำเร็จ(มรรค)
มีหัวใจเป็นนักนวัตกรรม