Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 การใช้การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 10 การใช้การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการสื่อสาร
หลักการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
หลักการทำงานเชิงบูรณาการ
หลักการสื่อสารแบบสองทาง
หลักการสื่อสารที่ต้องคำนึงถึงความแตกต่างของกลุ่มเป้าหมาย
หลักการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน
แนวทางการใช้การสื่อสารเพื่่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การมีส่วนร่วมในฐานะผู้รับสารหรือผู้ใช้สาร
การมีส่วนร่วมในฐานะผู้ส่ง/ผู้ผลิต/ผู้ร่วมผลิต/ ผู้ร่วมแสดง
การมีส่วนร่วมในฐานะผู้วางแผน
และกำหนดนโยบาย
แนวทางการจัดการความรู้เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การรวบรวมองค์ความรู้
การวิเคราะห์องค์ความรู้
การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้
การถ่ายโอนองค์ความรู้
กรรจัดเก็บฐานข้อมูลความรู้
แนวทางการสื่อสารแบบบูรณาการเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วิธีการใช้การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วิธีการสื่อสารเมื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสื่อสารแบบรายบุคคล.
การสื่อสารแบบกลุ่ม
การสื่อสารแบบมวลชน
การศึกษาแลละวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ศึกษาสภาพปัญหา และความค้องการ
ศึกษาสถานการณ์
ศึกษากลุ่มเป้าหมาย
ศึกษารูปแบบกิจกรรม
ศึกษารูปแบบการติดตามและประเมินผล
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒฯาการเกษตร
เลือกใช้เครื่องมือ SWOT analysis
S (Strengths) จุดเด่น จุดแข็ง ข้อได่เปรียบ เป็นข้อดีที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายในชุมชน
W (Weaknesses) จุดด้อย จุดอ่อน ข้อเสียเปรียบที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายในชุมชน
O (Opportunities) โอกาส เป็นการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกของชุมชนที่เอื้อประโยชน์หรือส้งเสริมการดำเนินงานของชุมชน
T (Threats) อุปสรรค ข้อจำกัดที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่เราไม่สามารถกำหนดได้
ประโยชน์ของ SWOT
ใช้ประเมินสภาวะแวดล้อม สภาพการณ์ของชุมชนโดยเน้นศักยภาพ ความพร้อมที่ชุมชนมีอยู่
นำไปใช้เป็นแนวคิด แนวทางการปฏิบัติงานเพื่อจัดทำแผนงานหรือโครงการ
ใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินสถานการณ์เพื่อการกำหนดกลยุทธ์
การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการสื่อสาร
ประเมินสภาพแวดล้อมภายใน
ประเมินสภาพแวดล้อมภายนอก
ระบุสถานการณ์
จุดแข็งและโอกาส
จุดอ่อนและอุปสรรค
จุดอ่อนและโอกาส
จุดแข็งและอุปสรรค
หลักการประยุกต์ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการสื่อสาร
วิเคราะห์ตามสถานการณ์จริง
สอดคล้องกับความต้องการของเกษตรกร
วิธีการดำเนินงานต้องมุ่งหวังให้เกษตรกรเกิดการพัฒนา
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
การประยุกต์ข้อมูลเพื่อการวางแผนการสื่อสาร
เก็บรวบรวมข้อมูล
ระบุความสำคัญของปัญหา
กำหนดวัตถุประสงค์
จัดทำแผนปฏิบัติงาน
ระบุผู้ร่วมงานในโครงการ
กำหนดการติดตามและประเมินผล
หลักในการเลือกสื่อ
เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายหรือผู้รับสาร
เหมาะกับช่องทางในการสื่อสาร
เหมาะสมกับคุณสมบัติของสื่อและเนื้อหา
เหมาะสมกับงบประมาณและบุคลากร
สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่น
การใช้สื่อบุคคลเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แบบเป็นทางการ เช่น การอภิปราย การบรรยาย การประชุม การแถลงข่าว การสัมมนา
แบบไม่เป็นทางการ
การใช่สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วารสาร
นิตยสาร
จดหมายข่าว
ป้ายประกาศและโปสเตอร์
แผ่นพับ
เอกสารเผยแพร่
ใบปลิว
การใช้สื่อกระจายภาพและเสียงเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
วิทยุโทรทัศน์
วิทยุกระจายเสียง
การใช้สื่อออนไลน์เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
Facebook
Twitter
Youtube
Wikis
Blogs