Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์ Pregnancy Induced Hypertension: PIH -…
ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์
Pregnancy Induced Hypertension: PIH
ความหมาย
ภาวะความดันโลหิตสูงที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์ โดยมีระดับค่าความดันโลหิต Systolic > 140 mmHg หรือ ความดันโลหิต Diastolic > 90 mmHg ขึ้นไป จากการวัดอย่างน้อย 2 ครั้ง แต่ละครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง ความดันโลหิตสูงในสตรีตั้งครรภ์อาจพบร่วมกับการมีโปรตีนในปัสสาวะและ/หรือมีอาการบวมร่วมด้วย
การจำแนกประเภท
Preeclampsia
BP > 140/90 เมื่ออายุครรภ์เกิน 20 สัปดาห์ขึ้นไป ในสตรีที่เคยมีความดันโลหิตปกติและพบ Proteinuria หรือในกรณีที่ไม่มี Proteinuria แต่ตรวจพบความดันโลหิตสูง ในสตรีที่ความดันโลหิตปกติมาก่อน ร่วมกับการตรวจพบกรณีใดกรณีหนึ่งดังต่อไปนี้
platelet count < 100,000 /ลูกบาศก์มิลลิเมต
creatinine > 1.1 มิลลิกรัม/เดซิลิตร
ค่า liver transaminase เป็น 2 เท่าของค่าปกติ
Pulmonary edema
Visual symptoms
อาการ
BP >= 160/110 mmHg
น้ำท่วมปอด
เลือดออกในสมอง (cerebral hemorrhage)
ตาบอดจากพยาธิสภาพของครรภ์เป็นพิษในสมอง
ปวดศีรษะอย่างรุนแรง สายตาพร่ามัว มีจุดบอดในลานสายตา
ซึมลง หรือ หมดสติ
อาการปวดใต้ชายโครงชวา หรือ จุกแน่นใต้ลั่นปี
ระบบการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (coagulopathy)
HELLP syndrome
Hemolysis (H)
LDH > 600 IU/L
serum bilirubin > 1.2 mg/dL
Elevated liver enzymes (EL)
AST > 70 IU/L
ALT > 50 IU/L
Low platelet (LP)
platelet count < 100,000 ต่อไมโครลิตร
การรักษา
Preeclampsia without severe features
ชักประวัติและตรวจร่างกายอย่างละเอียด
เจาะเลือดส่งตรวจ (blood test) CBC กับ platelet count, peripheral blood smear, serum BUN, creatinine, uric acid, LDH, AST, ALT, total และ direct bilirubin
ตรวจโปรตีนในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
ให้นอนพัก (bed rest)
ประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมง
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ และมี preterm labor พิจารณาให้ glucocorticoid
พิจารณาให้ยุติการดั่งครรภ์
โรคมีการเปลี่ยนแปลงเป็น preeclampsia with severe
มี non-reassuring fetal testing ที่ยืนยันด้วย BPP
อายุครรภ์ตั้งแต่ 34 สัปดาห์ร่วมกับอาการเจ็บครรภ์ มีน้ำเดิน มี non-reassuring fetal testing หรือ severe FGR
อายุครรภ์ 37-40 สัปดาห์ ให้พิจารณายุติการตั้งครรภ์
Preeclampsia with severe features
ให้นอนพักบนเตียงเต็มที่ (absolute bed rest)
เริ่มให้ยา magnesium sulfate (MgSO4)
ประเมินอาการแสดงของ Mg toxicity เป็นระยะ
ได้แก่ Patellar หรือ kneejerk reflex หายไป อัตราการหายใจ < 14 ครั้งต่อนาที และปัสสาวะ < 100 มิลลิลิตรต่อ 4 ชั่วโมง หรือ < 25 มิลิลิตรต่อชั่วโมง
ให้ยาลดความดันโลหิตเมื่อ BP 160/110 mmHg
เจาะ blood test
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ และมี preterm labor พิจารณาให้ glucocorticoid
หลีกเสี่ยงการใช้ยาขับปัสสาวะ
ห้ามให้ยายับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด (tocolysis) ในทุกอายุครรภ์
การลดความเจ็บปวด ยาที่ใช้ ได้แก่ Meperidine (Pethidine) 50-75 มิลลิกรัม
ในการรักษาแบบเฝ้าระวัง ให้ตรวจ NST ทุกวัน
หากพบกลุ่มอาการ HELLP ให้ยุติการตั้งครรภ์ทันที
Eclampsia
การชักในสตรีตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์เป็นพิษ
ลักษณะของการชัก (eclamptic seizures) มีระยะต่าง ๆ ดังนี้
1) ระยะก่อนชัก (premonitoring stage) กระสับกระส่าย ตามองนิ่งอยู่กับที่ ศีรษะหมุนไปด้านหนึ่งจนตึง และรูม่านตาขยาย
2) ระยะเริ่มแรกของอาการชัก (stage of invasion) มีอาการกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้าและมุมปากกระตุก ริมฝีปากเบี้ยว
3) ระยะชักเกร็ง (stage of contraction หรือ tonic stage) มีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั่วร่างกายลำตัวเหยียด ศีรษะหงายไปด้านหลัง มือกำแน่น แขนงอ ขาบิดเข้าด้านใน และตาถลน
4) ระยะชักกระตุก (stage of convulsion) มีการกระตุกของขากรรไกร อาจกัดสิ้นบาดเจ็บ มีน้ำลายฟูมปาก ใบหน้าบวมสีม่วง ตาแต้มเลือด หนังตาจะปิดและเปิดสลับกันอย่างรวดเร็ว
5) ระยะหมดสติ (coma หรือ unconscious) เกิดภายหลังการชักกระตุก
การรักษา
ควบคุมอาการชักและป้องกันการชักช้ำโดยให้ MgSO4 Ioading dose
หากซักในขณะได้ MgSO4 อยู่ก่อน ให้เจาะ Mg level ทันที
ให้ยาลดความดันโลหิต ฺBP 160/110 mm.Hg
ไม่ควรใช้ยา diazepam
เจ็บครรภ์คลอด ห้ามให้ยา tocolysis ในทุกอายุครรภ์
เฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอด
ให้ magnesium sulfate ต่อไปจนครบ 24 ชั่วโมงหลังคลอด
Chronic hypertension
ความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์หรือให้การวินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
ความดันโลหิตสูงที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์หรือให้การวินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
Gestational hypertension
BP > 140/90 เมื่ออายุครรภ์เกิน 20 สัปดาห์ขึ้นไป ระดับความดันโลหิตกลับสู่ค่าปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุปัจจัยเสี่ยง
สตรีที่ไม่เคยคลอดบุตรมาก่อน (nulliparity)
ประวัติภาวะครรภ์เป็นพิษในครรภ์ก่อน
ผ่านการคลอดบุตรคนก่อนมานานอย่างน้อย 10 ปี
สตรีอายุมากตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป
ดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 kg/m2 ขึ้นไป หรืออ้วน (obesity)
การตั้งครรภ์แฝด (multiple pregnancy)
ประวัติพันธุกรรมครรภ์เป็นพิษในครอบครัว
ประวัติมีความเจ็บป่วยทางอายุรกรรมที่เกี่ยวข้อง
ความผิดปกติทางสูติกรรม
ภาวะโภชนาการบกพร่อง
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด (abruptio placentae)
เลือดแข็งตัวผิดปกติ (DIC)
หัวใจขาดเลือด (myocardial infarction)
หัวใจล้มเหลว (congestive heart failure)
ไตวายเฉียบพลัน (acute renal failure)
น้ำท่วมปอด
เลือดออกในสมอง (cerebral hemorrhage)
เลือดออกในตับ
เกล็ดเลือดต่ำ
10.ตาบอดชั่วคราว
11.หลอดเลือดอุดตัน (deep venous thrombosis)
อันตรายจากการชัก
ทารก
ทารกโตช้าในครรภ์
ขาดออกซิเจน เลือดเป็นกรด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
แท้งหรือเสียชีวิตในครรภ์
ทารกตายในครรภ์เฉียบพลันหรือตายในระยะแรกเกิด
6.กรณีที่ได้รับการรักษาด้วย magnesium sulfate
ทารกแรกเกิดอาจมีรีเฟล็กส์และการหายใจไม่ดี