Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สรุป - Coggle Diagram
สรุป
-
-
-
-
-
- อธิบายประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ได้
- อธิบายลักษณะของหน่วยเศรษฐกิจและสรุปปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 4. บอกความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจได้
-
- บอกความหมาย ความเป็นมา และความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ให้
-
- ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์
- หน่วยเศรษฐกิจและปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ 4. ความแตกต่างระหว่างเศรษฐศาสตร์กับบริหารธุรกิจ
-
- ความหมาย ความเป็นมา และความสำคัญของเศรษฐศาสตร์
-
-
-
-
มนุษย์ทุกคนต้องการมีชีวิตที่ดีที่สุด จึงต่างแสวงหาและมีความต้องการในสินค้าและบริการอย่าง ไม่มีที่สิ้นสุด ในขณะที่ปริมาณของทรัพยากรมีอยู่อย่างจำกัด บางครั้งจึงเกิดการขาดแคลนขึ้น ด้วยเหตุนี้วิชาเศรษฐศาสตร์ จึงเกิดขึ้น เพื่อศึกษาหาวิธีที่จะจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่จำกัด ให้สามารถสนองตอบต่อความต้องการของมนุษย์และ เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด
-
- สรุปประเภทของอุปสงค์และอุปทานได้ 3. บอกลักษณะของเส้นอุปสงค์และอุปทานได้
- วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปสงค์และอุปทานได้ 5. เข้าใจการเกิดดุลยภาพของตลาด
-
-
-
-
-
-
-
-
-
- ลักษณะและการเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทาน
-
-
-
-
-
-
-
มนุษย์ทุกคนในสังคมมีความต้องการที่จะบริโภคสินค้าและบริการต่างๆ ด้วยกันทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้ จึงต้องผลิตสินค้าขึ้นมาเพื่อสนองตอบต่อความต้องการนั้น ในทางเศรษฐศาสตร์ความต้องการซื้อของ เรียกว่า อุปสงค์ ส่วนความต้องการที่จะนำสินค้าออกมาจำหน่ายของผู้ผลิตเรียกว่า อุปทาน ซึ่งทั้งอุป อุปทานนี้จะเปลี่ยนแปลงไปตามปัจจัยต่างๆ อยู่เสมอ เช่น รายได้ของผู้บริโภค ราคา ปัจจัยการผลิต เป็น ตลาดสามารถปรับตัวเข้าสู่สมดุลได้ แม้จะมีการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน
-
-
-
จากการศึกษาเรื่องอุปสงค์และอุปทานทำให้ทราบว่าเมื่อราคาสินค้าและบริการ และปัจจัยอื่นๆ ที่กำหนด อุปสงค์และอุปทานเปลี่ยนแปลงไปจะทำให้ปริมาณเสนอซื้อหรือปริมาณเสนอขายเปลี่ยนแปลงไป การพิจารณา สัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณเสนอซื้อหรือปริมาณเสนอขายที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาสินค้า และปัจจัยอื่นๆ เช่น ปริมาณเสนอซื้อจะเปลี่ยนแปลงไปเท่าใด ถ้าราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง หรือถ้าผู้บริโภคมีรายได้ เพิ่มขึ้นจะทำให้ปริมาณเสนอซื้อเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร เป็นต้น ค่าที่คำนวณได้ของสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของ
ปริมาณเสนอซื้อหรือปริมาณเสนอขายที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของราคาและปัจจัยอื่นๆ คือ ค่าความยืดหยุ่น โดยทั่วไปค่ความยืดหยุ่นจะวัดเป็นสัดส่วนร้อยละ ค่าความยืดหยุ่นสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย อาทิ รัฐบาลใช้ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าส่งออกของประเทศ เพื่อกำหนดนโยบายอัตราแลกเปลี่ยน เพื่อเก็บภาษีอากร หน่วยผลิตใช้ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา เพื่อกำหนดราคาสินค้า เป็นต้น