Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและเทคนิคปฏิบัติการเก็บสิ่งส่งตรวจ - Coggle Diagram
หลักการและเทคนิคปฏิบัติการเก็บสิ่งส่งตรวจ
ประโยชน์ของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ช่วยวินิจฉัยโรคได้อย่างแน่นอน
ช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยโรคบางอย่างที่ยังคลุมเครือ
ใช้เป็นแนวทางในการพยากรณ์โรค
ใช้เป็นแนวทางในการรักษาพยาบาล
ใช้เป็นข้อมูลในการเฝ้าระวังโรคบางอย่าง
ชนิดของสิ่งส่งตรวจ
เลือด
ปัสสาวะ
อุจจาระ
น้ำที่เจาะจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย
อื่นๆ
การเจาะเลือดจากเส้นเลือดฝอย
การตรวจหาจำนวนเม็ดเลือดแดงอัดแน่น (Hematocrit: Hct)
ตรวจสอบชื่อ-สกุลของผู้ป่วย
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบวัตถุประสงค์และวิธีการทำคร่าวๆ
ให้ผู้ป่วยนอนหรือนั่งในท่าที่สบายวางมือโดยหงายมือขึ้น
ให้ผู้ป่วยเหยียดปลายนิ้วมือ เลือกปลายนิ้วนางหรือนิ้วกลางของผู้ป่วย รีดปลายนิ้วตำแหน่งที่จะเจาะอย่างเบาๆ โดยบีบและปล่อยสลับกันให้เลือดมาคั่งที่ปลายนิ้วจนผิวเป็นสีแดง
เช็ดตำแหน่งที่จะเจาะเลือดด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ใช้ Lancet ปากกาเจาะเลือดปลายนิ้ว หรือเข็มเจาะเลือดปลายนิ้วเจาะลงไปที่ปลายนิ้วอย่างรวดเร็วลึกประมาณ 2 มม.
เช็ดเลือดออกก่อน 1-2 หยด ด้วยสำลีแห้ง บีบเลือดให้ออกมา
มืออีกข้างหนึ่งถือปลาย Capillary tube ที่มีสาร heparin เคลือบอยู่ ในแนวนอน โดยเอาส่วนปลาย tube มารอรับหยดเลือด โดยไม่ต้องบีบเค้นนิ้วให้เลือดไหลเข้าไปในหลอด
ใช้ปลายนิ้วชี้ ของผู้ตรวจปิดและเปิดบริเวณส่วนปลายของ Capillary tube อีกด้านเพื่อดูดเลือดให้เข้ามาใน tube ประมาณ 2/3 หรือ3/4 ของtube แล้วอุดปลาย tube ด้านเคลือบ heparin ด้วยดินน้ำมัน
ใช้ Capillary tube อีกหลอดทำซ้ำเช่นเดิม
ใช้สำลีแห้งกดตำแหน่งที่เจาะเลือด แล้วปิดด้วยพลาสเตอร์
จัดเก็บอุปกรณ์และทิ้งเข็มลงในกระป๋องสำหรับทิ้งเข็มให้เรียบร้อย
ถอดถุงมือและล้างมือ
นำ Capillary tube ที่ได้ มาปั่นในเครื่องปั่นโดยวาง tubeทั้งสองให้สมดุลกัน ( balance)ใช้เวลาปั่นนาน 5 นาที
นำ tube ที่ได้จากการปั่นซึ่งจะแยกเป็นเม็ดเลือดและพลาสมา มาอ่านค่ากับเครื่องวัดหรือ คำนวณเปรียบเทียบสัดส่วนความยาวของเม็ดเลือด ซึ่งแยกออกจากพลาสมา เทียบกับความยาวทั้งหมดของเลือด
การตรวจหาระดับน้ าตาล (Capillary Blood Glucose: CBG)
เช็ดต าแหน่งที่จะเจาะเลือดด้วยส าลีชุบแอลกอฮอล์ 70%
ใช้ Lancet ปากกาเจาะเลือดปลายนิ้ว หรือเข็มเจาะเลือดปลายนิ้วเจาะลงไปที่ปลายนิ้วอย่างรวดเร็วลึกประมาณ 2 มม.
เช็ดเลือดออกก่อน 1-2 หยด ด้วยส าลีแห้ง บีบเลือดให้ออกมาน้ำบริเวณ tip ของเครื่องอ่านค่าระดับน้ำตาลสัมผัสกับหยดเลือดอ่านค่ากับเครื่องวัด
การเก็บปัสสาวะส่งตรวจ
แนะนำให้ผู้ป่วยทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ก่อนเก็บ เก็บปัสสาวะ Mid Stream Urine โดยให้ผู้ป่วยปัสสาวะทิ งไปประมาณ 30 ซีซี แล้วจึงเก็บปัสสาวะในช่วงกลางของปัสสาวะ
เก็บปัสสาวะช่วงกลาง ไม่น้อยกว่า 10 ml
ปิดฝาภาชนะ เขียน ชื่อ นามสกุล ก่อนส่ง
บันทึกลักษณะของปัสสาวะ
การเก็บปัสสาวะ 24 ชม.
แนะน าผู้ป่วย
ถ่ายปัสสาวะทิ้งไปก่อน เพื่อให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
เริ่มนับเวลาให้ครบ 24 ชั่วโมง (เช่น 06.00 น. –06.00 น. ของวันรุ่งขึ น)
เก็บปัสสาวะทุกครั งที่ถ่ายใส่ภาชนะที่เตรียมไว้จะเก็บไว้ในตู้เย็นหรือใส่สารกันบูด
นำส่งห้อง Lab พร้อมใบ Request
บันทึก วันที่ และเวลาเริ่มเก็บ เวลาสิ้นสุด สีกลิ่น ลักษณะของปัสสาวะ
การเก็บปัสสาวะเพาะเชื้อ
Clamp ข้อต่อ Foley’s cath กับท่อที่ต่อลง Urine bag 5-15 นาที
เช็ดสายสวนด้วย Chlorhexidine in Alc. 70%
ใช้ Syringe ต่อหัวเข็มแทงเหนือข้อต่อที่Clamp ไว้ และดูด Urine
เปิดฝาขวด ใส่ขวด
คลาย Clamp สายสวนปัสสาวะ
ปิดฝาภาชนะ เขียน ชื่อ นามสกุล ก่อนส่ง
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
Stool examination
Stool Occult blood
หลีกเลี่ยงผัก ผลไม้ ที่มีปริมาณperoxidase สูง เช่น บร็อคโคลี่ แคนตาลูปผักกาด เป็นต้น งดอาหารและเนื้อสัตว์ที่มีเลือดปน เพราะทำให้ผลการตรวจคลาดเคลื่อน
ไม่ควรเก็บอุจจาระในระหว่างมีรอบเดือนหรือการมีเลือดออกจากริดสีดวงทวารหนักเก็บอุจจาระส่วนที่ไม่มีเลือดปน
Stool culture (การเพาะหาเชื อในอุจจาระ)
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบถึงขั้นตอนการปฏิบัติตน
ถ่ายอุจจาระใส่หม้อนอน
เขี่ยอุจจาระเท่าปลายนิ่วก้อย ห้ามมีปัสสาวะหรือเลือดปน
ใส่ถ้วยปิดฝา ส่งตรวจทันที ภายใน 30 นาที
บันทึก ลักษณะอุจจาระ สี กลิ่น สิ่งเจือปน
การเก็บอุจจาระเพาะเชื้อ
อธิบายขั นตอนแก่ผู้ป่วย
กั้นม่าน แนะนำให้ผู้ป่วยนอนตะแคง
ใช้ไม้พันสำลีสอดเข้าก้นลึก
ประมาณ 1-2 นิ้ว
จุ่มลงในอาหารเลี่ยงเชื่อปิดฝาให้
สนิท ส่งตรวจทันที
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
ให้ผู้ป่วยแปรงฟันหรือบ้วนปากด้วยน า
สะอาดหลายๆ ครั งห้ามใช้สารระงับเชื้อบ้วนปาก
แนะนำวิธีการไอแก่ผู้ป่วย โดยให้ผู้ป่วย
สูดลมหายใจเข้าออกทางจมูกลึกๆ ยาวๆ2-3 ครั ง แล้วกลั้นไว้สักครู่ จึงไอออกมา
อย่างลึกและแรง เพื่อเอาเสมหะออกมาใส่ในภาชนะส่งตรวจ
ส่งตรวจทันทีหรือเก็บในตู้เย็น T = 4 oC
หากผู้ป่วยไม่สามารถไอ
ขับเสมหะได้เอง การเก็บเสมหะส่งตรวจให้ใช้
Sputum trap ต่อกับเครื่องดูดเสมหะ แล้วดูด
เสมหะส่งตรวจ
การเก็บหนองส่งตรวจ
การตรวจโดยตรง
ดูด้วยตาเปล่า สังเกตลักษณะ สี ลักษณะความเหลว เช่น
เหนียวข้น หรือเป็นน้ำ กลิ่น
การตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยการป้ายบางๆ บนสไลด์
(Smear) และย้อมสีแกรม เพื่อตรวจหาเชื อโดยใช้กล้องจุลทรรศน์
การเพาะเชื้อ
ถ้าเป็นแผลปิด ให้ทำความสะอาดบริเวณผิวหนังภายนอกแล้วใช้เข็ม
และกระบอกฉีดยาเจาะดูดใส่ขวดขนาดเล็กที่สะอาดไร้เชื่อ นำส่งห้องปฏิบัติการ
ใช้ไม้พันสำลีสะอาดปราศจากเชื่อป้ายเฉพาะบริเวณที่มีการ
ติดเชื่อ แล้วใส่ลงในอาหารเลี่ยงเชื่อ