Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 26 ปี G2P1001 GA 34+4 wks. by U/S 23 ธันวาคม 2565 Dx…
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 26 ปี G2P1001 GA 34+4 wks. by U/S 23 ธันวาคม 2565 Dx.Premature contraction with Urinary tract infection (UTI) with Bacterial Vaginosis
Premature contraction
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
- มีการขยายของมดลูกมาก เช่น การตั้งครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ เป็นต้น
- ปากมดลูกปิดไม่สนิท เช่น ในสตรีที่ได้รับการบาดเจ็บหรืออุบัติเหตุ การตัดชิ้นเนื้อบริเวณปากมดลูก เป็นต้น
- การมีเลือดออกด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในระยะตั้งครรภ์ เช่น รกลอกตัวก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ เป็นต้น
- สตรีตั้งครรภ์มีการอับเสบติดเชื้อ เช่น มีการอับเสบของหนทางคลอดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย (bacterial vaginosis) เกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ มีการติดเชื้อในช่องปาก เป็นต้น
-
- มีระบบฮอร์โมนที่เปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีความเครียดสูง
- มีภาวะที่เลือดไปเลี้ยงมดลูก/รกไม่เพียงพอ (uteroplacental insufficiency) เช่น มีภาวะ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ โรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์ มีการใช้สารเสพติด สูบบุหรี่ การดื่มแอลกอฮอร์ เป็นต้น
- ลักษณะส่วนบุคคลของสตรีตั้งครรภ์ ได้แก่ พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ในการเดินหรือยืน เป็นเวลานาน ลักษณะการทำงานที่ต้องยกของหนัก การมีประวัติของการคลอดก่อนกำหนดในครรภ์ ที่ผ่านมา อายุน้อยกว่า 17 ปี หรือ มากกว่า 35 ปี มีเศรษฐานะไม่ดี มีน้ำหนักตัวก่อนตั้งครรภ์น้อย การเสพสารเสพติด มีภาวะเครียดหรือได้รับการกระทบเทือนจิตใจ เช่น มีปัญหาเกี่ยวกับการเงิน บุคคลในครอบครัวเสียชีวิต เป็นต้น
จากการซักประวัติสตรีตั้งครรภ์มีอาชีพทำงานรีดผ้าที่รีสอร์ทแห่งหนึ่ง และต้องยืนทำงานทั้งวัน และไม่ชอบดื่มน้ำ ดื่มน้ำน้อย
- มีการแตกของถุงน้ำคร่ำทำให้มดลูกหดรัดตัวและเกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
- มีการชักนำให้คลอดก่อนกำหนดทั้งแบบมีข้อบ่งชี้และไม่มีข้อบ่งชี้
อาการและอาการแสดง
มีการหดรัดตัวของมดลูกเป็นพัก ๆ อย่างสม่ำเสมอ ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูก อาจมีอาการเจ็บครรภ์ร่วมก็ได้
-
มีอาการปวดท้องน้อยคล้ายปวดประจำเดือน ปวด หลังส่วนล่าง ปวดบั้นเอว ปวดถ่วงในช่องคลอด ฝีเย็บและทวารหนัก
หญิงตั้งครรภ์มีอาการปวดเอวร้าวมาหน้าท้อง มีท้องแข็งเป็นเป็นพักๆ ร่วมกับเจ็บครรภ์ และรู้สึกลูกดิ้นน้อยลง
-
ความหมาย
ภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (premature labour) หมายถึง ภาวะที่สตรีตั้งครรภ์มีการ หดรัดตัวของมดลูกที่มีความถี่และความแรงมากพอที่จะทำให้ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลง อาจบาง ตัวและ/หรือเปิดขยาย หรือทั้งสองอย่าง เมื่ออายุครรภ์อยู่ระหว่าง 20-36+6 สัปดาห์
การประเมินและวินิจฉัย
-
fetal fibronectin (FN)
เป็น glycoprotein ชนิดหนึ่ง สามารถพบได้ในสารคัดหลั่งที่ปากมดลูกหรือในหนทางคลอด สารนี้จะช่วยยึด chorion ให้ติดกับ decidua ถ้าเข้าสู่และใกล้คลอด สารนี้จะมีการสลายตัว chorion มีการแยกชั้นจาก decidua ส่งผลให้ตรวจพบผลบวก (เมื่อมีค่าความเข้มข้น fFN มากกว่า 50 ng/ml) ดังนั้นหากตรวจพบผลบวก แสดงว่าผู้คลอดมีโอกาสเกิดการคลอดได้สูง สามารถใช้แยกการเจ็บครรภ์จริงออกจากเจ็บครรภ์เดือน (false labour pain) แต่ไม่นิยม ใช้การตรวจ fFN เพื่อคัดกรองภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
Vaginal cervical length
การวัดความยาวของปากมดลูกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง เพื่อจำแนกการเจ็บครรภ์จริงหรือเจ็บครรภ์เตือน ถ้าสตรีตั้งครรภ์มีอายุครรภ์น้อยกว่า 34 สัปดาห์ มีอาการของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด ร่วมกับวัดความยาวของปากมดลูกได้น้อยกว่า 20 มิลลิเมตร ถือว่ามีความเสี่ยงสูงที่จะคลอดใน 7 วัน แต่หากวัดความยาวของปากมดลูกได้มากกว่า 30 มิลลิกรัม ถือว่ามีความเสี่ยงต่ำที่จะคลอดใน 7 วัน ดังนั้นการใช้ fetal fibronectin ร่วมกับการวัดความยาวของปากมดลูกจะสามารถ จำแนกรายที่มีโอกาสคลอด ส่งผลให้ลดการใช้ยาโดยไม่จำเป็นลงได้
อาการเจ็บครรภ์ขึ้น มดลูกหดรัดตัวสม่ำเสมอ อาจมีอาการปวด บริเวณอื่นร่วม ได้แก่ ปวดเอว ปวดหลัง ปวดหน่วงลงช่องคลอด หรือมีมูกเลือดออกร่วมด้วย
-
-
แนวทางการรักษา
เนื่องจากการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดส่วนหนึ่งมาจาก พฤติกรรมของสตรีตั้งครรภ์ที่อาจ ยืน เดิน ยกของหนัก ดังนั้นหากได้พัก หรือ ลดกิจกรรมต่าง ๆ ลง อาจทำให้การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดมีแนวโน้มดีขึ้นและหายไปเองได้ นอกจากนี้ควรค้นสาเหตุ ของการเกิดภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดไปพร้อมกันด้วย
-
-
ยาปฏิชีวนะ
ใช้ยาปฏิชีวนะในรายที่ preterm PROM เพื่อยืดระยะ latent phase ออกไป และในรายที่มีการติดเชื้อ Group B streptococci carrier
หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาปฏิชีวนะ ในการรักษา ดังนี้
- Amoxycillin (500) 2x2 oral pc
- Metronidazole (400) 1x3 oral pc
-
ACOG
ยากลุ่มแรกที่ควรเริ่มใช้ คือ beta adrenergic receptor agonist, calcium channel blocker, NSAIDs
-
-
calcium channel blocker
Nifedipine (Adalat)
- load 10-30 mg oral
- Then 10-20 mg q 4-8 hr จนมดลูกหดรัดตัวลดลงใน 48 hr
- สูงสุดไม่เกิน 180 mg/day
หญิงตั้งครรภ์ได้รับยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก ได้แก่ Adalat (10 mg) 1 tab oral q 15 min x 4 dose (Loading dose) ประเมิน UC หลังครบ 1 hr. if UC ห่าง next 4 hr. start Adalat SR (20 mg) 1 tab oral q 6 hr. (Max dose 160 mg/24hr.)
- 1 more item...
เป็นยากลุ่ม calcium channel blocker ออกฤทธิ์โดยป้องกัน calcium เข้าสู่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจและหลอดเลือด ทำให้กล้ามเนื้อหัวใจทำงานน้อยลง อัตราการเต้นของหัวใจลดลง และออกฤทธิ์ทำให้หลอดเลือดส่วนปลายคลายตัว
ผลข้างเคียง ได้แก่ ปวดศีรษะ วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น คลื่นไส้ เหงือกอักเสบ ท้องผูก สิ่งที่สำคัญที่สุดคือความดันโลหิตต่ำอย่างรวดเร็ว เมื่อใช้ยาร่วมกับ MgSO4
NSAIDs
Indomethacin
- เริ่มด้วย 50-100 mg load
- 25 mg oral q 4-6 hr
-
-