Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการช่วยเหลือผู้สูงอายุ, การจัดบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ -…
แนวคิด หลักการช่วยเหลือผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุในสถานพยาบาล
การเตรียมสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
มีกระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ได้มาตรฐาน
ส่งเสริมกระตุ้นให้เกิดการพึ่งพาตนเองให้ยาวนานที่สุด
การยอมรับความแตกต่างและความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้สูงอายุ
ทางเลือกและวิธีการควบคลุมดูแลตนเอง
ความปลอดภัยที่ผู้สูงอายุจะได้รับ
การแสดงออกถึงความเชื่อและสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจของผู้สูงอายุ
การคงไว้ซึ่งสัมพันธภาพระหว่างบุคคลของคู่ครองญาติมิตร เพื่อน รวมทั้งสังคมของผู้สูงอายุ
สิทธิและสวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ
ลดหย่อนราคาค่าโดยสารระบบขนส่งสาธารณะ
4.สิทธิในการฝึกอาชีพ
2.เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
5.เที่ยวชมพิพิธภัณฑ์และอุทยานแห่งชาติของหน่วยงานรัฐฟรี
1.สิทธิบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้าหรือบัตรทอง
การดูแลผู้สูงอายุที่บ้านและในชุมชน
ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน (Home health care)
จัดทีมให้บริการเชิงรุกในการ ดูแลผู้ป่วยที่บ้าน (Home health care) เพื่อรองรับการดูแล ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมิติด้านสุขภาพของผู้สูงอายุนั้นกว้างกว่ามิติ ทางการแพทย์และสาธารณสุข อีกทั้งทักษะและความรู้ของ เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยและอาสาสมัครในชุมชน (อสม. และ ผสส.) ที่เคยประสบความสำเร็จในการดูแลสุขภาพประชาชน จากการเจ็บป่วยเฉียบพลันในอดีตนั้นไม่เพียงพอต่อความ ต้องการการบริการของชุมชนในปัจจุบันที่เป็นการเจ็บป่วย เรื้อรังและต้องการการดูแลที่ต่อเนื่อง รอบด้าน และบูรณาการ ทั้งด้านการแพทย์และด้านสังคม
การดูแลสุขภาพที่บ้าน (Home health care) เป็นการดูแลสุขภาพที่มีแบบแผนการดูแลให้บริการที่เป็นทางการสม่ำเสมอ โดยบุคลากรทางการแพทย์เช่นพยาบาล ชุมชน ที่ติดตามผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพที่ต้องติดตามดูแลเป็น ระยะๆ อย่างใกล้ชิด
โดยศูนย์บริการสาธารณสุขจะดำเนินการ ติดตามเยี่ยมเป็นประจำ โดยใช้บ้านเปรียบเสมือนเป็น Ward เตียงที่บ้านเป็นเตียงผู้ป่วย เน้นครอบครัวเป็นหลักในการดูแล พยาบาลเวชปฏิบัติหรือเจ้าหน้าที่สาธารณสุข คอยเป็นผู้ให้คำแนะนำ ประเมินอาการเป็นระยะๆ อาสาสมัครสาธารณสุขเป็น ผู้ช่วยพยาบาลในการเฝ้าระวังร่วมและประสานข้อมูลการดูแล กับทีมงาน
Day care
ซึ่งเป็นสถานที่ผู้สูงอายุมารวมกันเพื่อตอบ สนองความต้องการร่วมกัน หรือมีกิจกรรมเพื่อผู้สูงอายุ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดปัญหาด้านต่าง ๆ ของผู้สูงอายุ เช่น ด้านการดูแล ด้านโภชนาการ ด้านการรักษาโรค ด้านคำแนะนำต่าง ๆ สำหรับผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ เป็นที่รวมตัวกันของผู้สูงอายุเพื่อมีกิจกรรมร่วมกันและให้การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ปัจจุบันในไทยมีการจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุเกือบทุกชุมชน
การดูแลที่บ้านในชุมชน
การดูแลที่บ้านในชุมชนส่วนใหญ่ในสังคมไทย จะเป็นการให้บริการการดูแลสุขภาพโดยคณะเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ที่ไปติดตามดูแลผู้ป่วยเรื้อรังที่บ้าน หรือให้คำแนะนำ เรื่องการดูแลสุขภาพให้แก่ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน หมู่บ้าน ซึ่งทีมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขประกอบด้วยบุคลากร หลายด้าน ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักกายภาพบำบัด นักสังคมสงเคราะห์ นักอาชีวบำบัด เภสัชกร และอาจมีผู้ช่วยฯ ดูแลสุขภาพที่บ้าน และคนทำงานบ้าน เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่รูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน
ดูแลผู้ป่วย เฝ้าไข้ ครบวงจร เป็นศูนย์รับจัดส่ง พี่เลี้ยงเด็ก แม่บ้าน แม่ครัว ผู้ช่วยพยาบาล คนดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย เฝ้าไข้ อย่างครบวงจรเป็นทางเลือกหนึ่งให้ชุมชนสามารถใช้ บริการได้ นอกจากนี้ยังมีสถานดูแลผู้สูงอายุ สถานดูแลผู้ป่วยใน ประเด็นนี้เหมาะกับผู้ป่วยระยะพักฟื้น และสถานพักฟื้นผู้สูงอายุ ซึ่งมีกิจกรรมให้ผู้สูงอายุในแต่ละวัน ตามความสามารถของ แต่ละบุคคล เป็นการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยระยะ พักฟื้น
มีจุดมุ่งหมายเพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ควบคุมดูแล และแนะนำโดยแพทย์ พยาบาล และทีมงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย รวมถึงเจ้าหน้าที่ ซึ่งผ่านการอบรมหลักสูตรในการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะให้การดูแลตลอด 24 ชั่วโมง มีบริการห้องพักที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ พร้อมอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายอย่าง ครบครัน นอกจากนี้ยังมีบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ ทำให้รู้สึก สบาย เงียบสงบเป็นส่วนตัว เหมาะสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย ผู้พักฟื้นโดยเฉพาะ
มีจุดมุ่งหมายเพื่อสุขภาพที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ ควบคุมดูแล และแนะนำโดยแพทย์ พยาบาล และทีมงาน ผู้เชี่ยวชาญด้านการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย รวมถึงเจ้าหน้าที่ ซึ่งผ่านการอบรมหลักสูตรในการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย โดยเฉพาะให้การดูแลตลอด 24 ชั่วโมง มีบริการห้องพักที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ พร้อมอุปกรณ์อำนวยความสะดวกสบายอย่าง ครบครัน นอกจากนี้ยังมีบรรยากาศที่เป็นธรรมชาติ ทำให้รู้สึก สบาย เงียบสงบเป็นส่วนตัว เหมาะสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ ดูแลผู้ป่วย ผู้พักฟื้นโดยเฉพาะ
การเยี่ยมบ้าน (Home visit)
Assessment home visit เป็นการเยี่ยมบ้าน เพื่อประเมินผู้สูงอายุ
Dying patient home visit เป็นการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต
Hospitalization follow up home visit เป็นการเยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการรักษาหลังจากออกจาก โรงพยาบาลสู่บ้าน
Illness home visit เป็นการเยี่ยมบ้านผู้สูง อายุที่เจ็บป่วย
การดูแลผู้สูงอายุในสถานประกอบการ
แรงงานสูงอายุ
คำว่าแรงงานสูงอายุ เป็นแนวคิดที่ยึดสภาพร่างกายและสรีระของแรงงานเป็นหลัก ในแง่ของเกณฑ์อายุ การนิยามแรงงานสูงอายุเป็นเรื่องสำคัญทั่วโลกเนื่องจากยังไม่ค่อยชัดเจนกันว่าจะกำหนดว่าแรงงานสูงอายุควรมีอายุเท่าใดโดยเฉพาะการกำหนดเกณฑ์เพื่อใช้ในการดำเนินนโยบายและมาตรการเกี่ยวกับการจ้างงานผู้สูงอายุ เช่น การส่งเสริมการจ้างงานผู้สูงอายุ การให้สิ่งจูงใจหรือการออกกฎหมายเกี่ยวกับการจ้างงานผู้สูงอายุ การกำหนดค่าจ้างผู้สูงอายุ ฯลฯ ซึ่งควรมีเป้าหมายที่ชัดเจน
แรงงานสูงอายุคืออย่างไรนั้นดูที่ลักษณะและอาการที่สำคัญของแรงงานสูงอายุคือปัญหาทางสรีรวิทยาที่เสื่อมลงหรือพิการ ซึ่งเกิดขึ้นได้ตั้งแต่อายุ 20 หรือ 25 ดังต่อไปนี้
1 การลดลงของกำลังกล้ามเนื้อสูงสุดและระยะการเคลื่อนไหวข้อต่อ สามารถลดลงร้อยละ 15-20 ในช่วงอายุ 20 ถึง 60 ปี
2 ระบบหัวใจและหลอดเลือด และระบบหายใจเริ่มเสื่อม หมอบอกว่าในช่วงอายุ 30-65 ระบบการหายใจจะเสื่อมลงได้ถึงร้อยละ 40 ดังนั้นแรงงานสูงอายุจึงไม่เหมาะสำหรับงานที่ใช้เรี่ยวแรงอย่างต่อเนื่อง
3 ปัญหาการควบคุมท่าทางและความสมดุล มักเกิดขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น และผู้มีปัญหาในด้านนี้อาจประสบปัญหาในการทำงานที่ต้องยกของหนัก หรือทำงานบนพื้นที่เปียกลื่น หรือลาดเอียง ซึ่งจะพบว่าแรงงานสูงอายุมีอุบัติเหตุเช่นนี้มากกว่าคนหนุ่มสาว
การนอนหลับไม่เต็มที่ เมื่อคนอายุมากขึ้น จะมีปัญหากับการนอนหลับมากขึ้น ปัญหาการนอนหลับรวมทั้งแสงสว่างและเสียงจะมีผลต่อการจัดชั่วโมงให้แรงงานสูงอายุทำงาน
จะมีปัญหาการปรับอุณหภูมิของร่างกายมากกว่าเมื่อตอนหนุ่มสาว ดังนั้น งานที่ร้อนหรือเย็นจัดจึงไม่เหมาะปัญหาระบบอุณหภูมิร่างกาย เมื่อแรงงานเริ่มสูงอายุ
ปัญหาการมองเห็น จะเปลี่ยนไปตามอายุซึ่งแม้จะใช้แว่นสายตาหรือคอนแทคเลนส์ช่วยได้แต่ก็ช่วยได้ไม่หมดเพราะความกว้างรวมทั้งความลึกของการมองเห็นยังมีข้อจำกัด ดังนั้นการจัดที่ทำงานของแรงงานสูงอายุจึงควรมีการปรับให้เหมาะสมกับสายตา
ปัญหาการได้ยิน ความสามารถจะลดลงตามอายุ
การเตรียมพร้อมรับมือกับสังคมผู้สูงอายุโดยมีการจัดบริการด้านอาชีวอนามัย
การส่งเสริมสุขภาพและการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงาน
การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามวัยหรือจากวิถีชีวิต เช่น โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
การบริหารจัดการให้ผู้ที่เจ็บป่วย
การป้องกันโรคหรือการบาดเจ็บที่เกิดจากการทำงาน
รูปแบบการดูแลที่มุ่งเน้นผู้สูงอายุเป็นศูนย์กลาง
การที่แพทย์หรือผู้ให้การรักษาให้ความสำคัญการการทำความเข้าใจบริบทและความต้องการที่แท้จริงของผู้ป่วย และปรับเปลี่ยนแผนการรักษาให้เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละรายไป แต่ไม่ใช่การเอาใจผู้ป่วยให้มากๆ ไม่ใช่การยัดเยียด สอนและสั่งให้ผู้ป่วยทำตาม
แพทย์ต้องเข้าใจภาพจริงของผู้ป่วยแต่ละราย ให้การวินิจฉัยทั้งโรค (Disease) และความเจ็บป่วย (Illness) ไปด้วยกัน และให้การดูแลรักษาเฉพาะราย ไม่เหมาโหล ซึ่งต้องอาศัยทักษะที่แตกต่างจากการดูแลแบบ Doctor-centered หรือ Disease-centered care
ในกระบวนการดูแลแบบผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง จะประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ตามแนวคิดของ Stewart M, Brown J. และ Ian McWhinney ได้แก่
ค้นหาทั้งโรคและความเจ็บป่วย (Explore both disease and illness)
ช่วยเข้าใจชีวิตบุคคล (Understand the whole person)
หาหนทางร่วมกัน (Find common ground)
สร้างสรรค์งานป้องกัน ส่งเสริม (Incorporate prevention and health promotion)
ต่อเติมความสัมพันธ์ที่ดี (Enhance doctor-patient relationship)
มีวิถีอยู่บนความเป็นจริง (Being realistic)
BATHE
Trouble = ปัญหาที่สำคัญที่สุด
Handling = การจัดการกับปัญหา
Affect = ความรู้สึกขณะนี้
Empathy = แสดงความเข้าใจและเห็นอกเห็นใจ
Background = ภูมิหลัง บริบท
การจัดบริการสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุ
คุณภาพ (Quality)
ความเสมอภาค (Equity)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)