Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร, ด.ญ…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสาร
ซอฟต์แวร์ (software)
ประเภท
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนามาเพื่อใช้ควบคุมการทำงานของฮาร์ดแวร์
ประเภท
โปรแกรมระบบปฏิบัติการ(OS)
เป็นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮาร์ดแวร์และโปรแกรมประยุกต์อื่นๆ
ประกอบไปด้วย
Mac OS
ข้อดี:มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์ต่ำ
ข้อเสีย:มีฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เลือกใช้งานจำกัด ทำให้มีราคาแพง
Android/IOS
ข้อดี:ในการดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่นลงสมาร์ตโฟนนั้นส่วนมากจะไม่มีค่าใช้จ่าย
Windows
ข้อดี:ใช้งานง่าย เนื่องจากใช้การติดต่อกับผู้ใช้งานด้วยภาพและสัญลักษณ์
ข้อเสีย:มีความเสี่ยงเรื่องมัลแวร์มากกว่าระบบปฏฺบัติการอื่นๆ
Linux
ข้อเสีย:การใช้งานค่อนข้างซับซ้อนสำหรับผู้ใช้งานทั่วไป
ข้อดี:เรียบง่ายกว่า สามารถแก้ปัญหาของระบบได้ง่าย เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้งานไม่จำเป็นต้องมีความต้องการด้านระบบสูง
โปรแกรมอรรถประโยชน์
โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs)
ติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอำนวยความสะดวกในการทำงานร่วมกับฮาร์ดแวร์
ตัวอย่างของโปรแกรม
โปรแกรมจัดการไฟล์
โปรแกรมสแกนดิสก์
โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์
โปรแกรมรักษาหน้าจอ
โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (standalone utility programs)
ช่วยให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีติดมากับเครื่อง ต้องติดตั้งเพิ่มเติมเอง
ตัวอย่างของโปรแกรม
โปรแกรมไฟร์วอลล์
โปรแกรมป้องกันไวรัส
โปรแกรมบีบอัดไฟล์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)
พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ทำงานเฉพาะทางหรือเฉพาะด้านตามที่ผู้ใช้ต้องการ
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ที่นิยมใช้กันทั่วไป
มักเป็นโปรแกรมสำนักงาน
ตัวอย่างโปรแกรม
โปรแกรมประมวลผลคำ
โปรแกรมนำเสนอ
โปรแกรมค้นดูเว็บ
โปรแกรมฐานข้อมูล
โปรแกรมตารางคำนวณ
ซอฟต์แวร์สำเร็จ
พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้เฉพาะงาน มีลิขสิทธิ์ของผู้พัฒนา
ตัวอย่างโปรแกรม
โปรแกรมบันทึกเวลาทำงานและคิดค่าจ้างในเครื่องสงเวลาต่างๆ
เครื่องอ่านบัตร
เครื่องสแกนใบหน้า
เครื่องสแกนลายนิ้วมือ
ระบบคลาวด์
ระบบจัดเก็บข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น กูเกิ้ลไดรฟ์ ซึ่งจะใช้การเชื่อมต่อผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการให้บริการฝากข้อมูล
โปรแกรมออกแบบขิ้นงาน
โปรแกรมบัญชี
โปรแกรมสร้างภาพ
เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์ของการใช้งาน
ฮาร์ดแวร์ (hardware)
หน่วยรับเข้า (input unit)
ทำหน้าที่รับข้อมูลต่างๆ
เมาส์
รับคำสั่ง
เครื่องแสกนใบหน้า
รับ pattern
ไมโครโฟน
รับเสียง
เครื่องอ่านลายนิ้วมือ
รับ pattern
กล้องเว็บแคม
รับภาพ
แสกนเนอร์
รับภาพ
คีย์บอร์ด
รับอักขระ คำสั่ง และตัวเลข
หน่วยประมวลผลกลาง (central processing unit: CPU)
ทำหน้าที่ประมวลผลข้อมูลตามคำสั่ง คำนวณ และควบคุมการทำงานของระบบ
เปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอร์
หน่วยความจำ (memory unit)
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท
หน่วยความจำหลัก
เช่น
RAM
ROM
หน่วยความจำรอง
เช่น
HDD
Flashdrive
หน่วยแสดงผล (output unit)
ทำหน้าที่แสดงผลข้อมูล
จอภาพ
แสดงผลเป็นภาพ
เครื่องพิมพ์ (printer)
แสดงผลเป็นเอกสาร
โปรเจคเตอร์
แสดงผลเป็นภาพ
ลำโพง
แสดงผลเป็นเสียง
ข้อมูล (data)
แบ่งตามแหล่งข้อมูล
ข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data)
ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว
ข้อมูลปฐมภูมิ (primary data)
ข้อมูลที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง
แบ่งตามเงื่อนไขการรับเข้า
ข้อมูลตัวอักขระ (character data)
ข้อมูลที่ใช้คำนวณไม่ได้
ข้อมูลตัวเลข (numeric data)
ข้อมูลที่นำมาคำนวณได้
ข้อมูลภาพ (image data)
รูปภาพชนิดต่างๆ
ข้อมูลเสียง (audio)
เช่น เสียงบรรยาย เสียงประกอบ
ข้อมูลวีดิทัศน์ (video)
เช่น ภาพยนตร์ ภาพเคลื่อนไหว
บุคลากรทางคอมพิวเตอร์
โปรแกรมเมอร์ (programmer)
เขียนและสร้างโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ให้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติงานเครื่อง (computer operator)
ทำหน้าที่ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ บำรุงรักษาระบบ ควบคุมการทำงาน ให้บริการด้านการใช้งาน
นักวิเคราะห์ระบบ (system analyst)
ทำหน้าที่ศึกษาปัญญาหาและความต้องการขององกรณ์ ความคุ้มค่า วางแผนและออกแบบระบบ หาแนวทางการแก้ไขปัญหา
พนักงานข้อมูล (data entry operator)
บันทึกข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ตามที่ปรแกรมกำหนด หรือเป็นผู้ใช้ (User)
ผู้บริหารระบบ (system manager)
ผู้ที่บริหารและจัดการระบบ
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1.รวบรวมข้อมูล
เป็นการนำข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมาจัดเป็นหมวดหมู่
ประเภทของข้อมูล
ปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ
2.ประมวลผล
จัดเรียงข้อมูล
คำนวณ
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ต่างๆ
ร้อยละ
กำไร/ขาดทุน
เข้ารหัสข้อมูล
แบ่งกลุ่ม
แบ่งหมวดหมู่
จัดทำรายงาน
กราฟ
อินโฟกราฟิก
แผนภูมิ
สไลด์
แผนผัง
ตรวจสอบ
ตรวจสอบความถูกต้องและความครบถ้วนของเนื้อหา
3.สารสนเทศ
เป็นการนำข้อมูลที่ประมวลผลแล้วมาสรุปเป็นผลลัพธ์ ขั้นตอน หรือการดำเนินการเพื่อให้เกิดสารสนเทศขึ้นมา
4.จัดเก็บ
ระบบ cloud computing
ระบบ cloud digital
5.เผยแพร่
แจกจ่ายและสื่อสารข้อมูลที่ได้ผ่านทางอินเทอร์เน็ต
เทคโนโลยีการสื่อสาร
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
MAN
เตรืองข่ายอินเทอร์เน็ตในระดับเมือง
VAN
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่สามารถใช้ข้ามประเทศหรือข้ามทวีปได้
LAN
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตระยะใกล้
ใช้สายในการเชื่อมต่อ
PAN
เครือข่ายส่วนบุคคล
ส่วนประกอบ
เราท์เทอร์
หน้าที่
จัดเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูล
เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต
หาเส้นทางในการส่งผ่านข้อมูลที่เร็วที่สุด
แจกไอพีแอดเดรสไปยังผู้ใช้แต่ละเครื่อง
ฮับ
หน้าที่
เชื่อมต่อสัญญาณไปยังเครื่องอื่นๆ เพื่อใช้ทรัพยากร เช่น printer, server ร่วมกัน
เมื่อติดตั้งสัญญาณจากช่องต่อของเราท์เตอร์เข้าที่ช่องทางของฮับ จะทำให้สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ทุกเคื่องที่ต่อสายสัญญาณเข้ามา
สายนำสัญญาณอินเทอร์เน็ต
เป็นสายนำสัญญาณความเร็วสูง
สายปัจจุบันนิยมใช้
สายใยแก้วนำแสง
ใช้สัญญาณแสงในการส่งสัญญาณ
การส่งสัญญาณไม่ถูกรบกวนจากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆ
สามารถส่งสัญญาณได้ไกล
มีความปลอดภัยจากการโจรกรรมข้อมูล
ทำจากฉนวนไฟฟ้า จึงไม่มีการนำกระแสไฟฟ้าและไม่เกิดการลัดวงจร
ทำจากวัตถุที่ไม่ลามไฟ
สายนำสัญญาณ
ใช้เชื่อมต่อในระบบแลน
เป็นสายที่มีสี่คู่ บิดกันเป็นเกลียว เรียกว่า
สายคู่บิดเกลียว
ชนิดของสาย
UTP
STP
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP)
ด.ญ.สโรชิณี เลิศธนากูร ม.2/526 เลขที่ 43
ด.ญ.นิลุบล เดชอนันต์ ม.2/526 เลขที่ 22