Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต - Coggle Diagram
บทที่ 2 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ความหมายและที่มาของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับพลเมือง
สรุปได้ว่า ความเป็นพลเมือง คือ ประชาชน ที่มีอิสรภาพ มีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อประเทศของ ตนเอง โดยจะต้องเคารพสิทธิผู้อื่นไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น “พลเมือง” ในระบอบประชาธิปไตยจึงต้องเคารพสิทธิ ผู้อื่นและจะต้องไม่ใช้สิทธิเสรีภาพของตนไปละเมิดสิทธิของผู้อื่น
การสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ประเทศเกาหลีใต้
เกาหลีใต้ถือเป็นประเทศหนึ่งที่ประสบความสำเร็จในด้านของการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต แต่ก็ยังคงมีปัญหาการทุจริตเกิดขึ้นอยู่บ้าง เช่น เมื่อปี พ.ศ. 2559
ประเทศบราซิล
ปลายปี พ.ศ. 2559 ประชาชนในประเทศบราซิลได้มีการชุมนุมประท้วง การทุจริตที่เกิดขึ้น เป็นการแสดงออกถึงความไม่พอใจต่อวัฒนธรรม การโกงของระบบราชการของประเทศ โดยมี ประชาชนจำนวนหลายหมื่นคนเข้าร่วมการชุมนุมในครั้งนี้
การปรับกระบวนการคิดเพื่อสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ระบบการคิดแบบเลขฐานสิบ (Analog) และระบบเลขฐานสอง (Digital)
คิดได้ คิดดี คิดเป็น
การลงโทษทางสังคม (Social Sanctions)
การลงโทษทางสังคม ถือเป็นอีกหนึ่งกระบวนการที่จะสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริตได้ เพราะหากเกิดการ ทุจริตขึ้นแล้ว สังคมไม่ยอมรับในการทุจริตนั้น ช่วยกันสอดส่องดูแล และมีการลงโทษทางสังคมจะช่วยให้พฤติกรรม จนไม่เกิดขึ้นในที่สุด
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยบทบาทของภาคประชาชน
ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้องกันการทุจริตการเลือกตั้งทุกระดับ
ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้องกันการทุจริตการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อรณรงค์ต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเนื่องในชุมชน
การเฝ้าระวังพื้นที่ที่เห็นว่าสุ่มเสี่ยงต่อการแสวงหาผลประโยชน์
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็น
ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
จัดให้มีกิจกรรมเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติคุณ
ติดอาวุธทางปัญญาให้กับตัวเอง
หามาตรการรองรับการทำงาน
มีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะอาสาเข้ามาทำงานเพื่อประโยชน์ของบ้านเมือง
มีการประชาสัมพันธ์ผลงาน
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
ความละอายระดับต้น
ความละอายระดับที่สูง