Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรดิน
สาเหตุ
สาเหตุจากธรรมชาติและจากการกระทำของมนุษย์
1) ความเสื่อมคุณภาพของดินทางกายภาพ คือ การสูญเสียโครงสร้างหน้าดินและอินทรียวัตถุ
2) ความเสื่อมคุณภาพของดินทางเคมีคือ ดินเกิดสภาพเป็นกรด ด่าง และดินเค็ม
3) ความเสื่อมคุณภาพของดินทางชีวภาพ คือ การลดลงของอินทรียวัตถุและความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในดิน
ผลกระทบ
การเสื่อมสภาพโครงสร้างดินทางกายภาพ เนื่องจากการถูกนำมาใช้มากเกินไปและขาดการบำรุงรักษาดินอย่างถูกวิธี
ผลจากการใช้ดินต่อเนื่องมายาวนานและการชะล้างดินมีมากขึ้น เป็นผลทำให้คุณสมบัติ
ทางเคมีของดิน ธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรองที่สำคัญถูกชะล้างสูญเสียไปกับดิน จึงทำให้ดินจืดและขาดธาตุอาหารในดิน
ผลจากการใช้ดินซ้ำซาก การชะล้างมากขึ้นเป็นผลทำให้อินทรียวัตถุในดิน พร้อมทั้งจุลชีพที่เป็นประโยชน์ในดินต้องสูญเสียไป
ในระยะหลังที่มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการค้ามากขึ้น มีการใช้เครื่องจักรไถพรวน และสารเคมีเพิ่มขึ้น
แนวทางการจัดการ
1.ปัญหาโครงสร้างดิน เมื่อดินถูกใช้มายาวนานจำเป็นต้องมีการไถพรวนระดับลึกเพื่อเป็นการทำลายชั้นดานในดิน
ปัญหาดินขาดธาตุอาหาร ควรลดปริมาณการใช้ปุ่ยเคมี และหันมาใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทางธรรมชาติไถกลบซกพืชโดยไม่เผาทำลาย
3.ปัญหาดินขาดอินทรียวัตถุ ควรปลูกพืชหมุนเวียนประจำปี และปลูกพืซหลากหลายชนิดอย่างผสมผสาน
บริหารจัดการการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ โดยลดการปลูกพืซเชิงเดี่ยว หันมาทำการเกษตรแบบผสมผสาน
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรน้ำ
สาเหตุ(การขาดแคลนทรัพยากรน้ำ)
การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรในประเทศต่าง ๆ ทำให้ความต้องการน้ำเพิ่มมากขึ้น
ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อวัฎจักรของน้ำ ทำให้แหล่งน้ำผิวดิน เช่น ทะเลสาบ และแม่น้ำแห้งขอด
ผลกระทบ(การขาดแคลนทรัพยากรน้ำ)
1.เมืองใหญ่หลายแห่งทั่วโลกประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มและน้ำอุปโภคจากปริมาณน้ำที่ไม่เพียงพอและมีสารปนเปื้อน
ผลผลิตอาหารจากภาคเกษตรกรรมทั้งพืชอาหารและสัตว์เลี้ยงเพื่อการบริโภคลดลง
จนไม่เพียงพอต่อประชากรโลก
แนวทางการจัดการ(การขาดแคลนทรัพยากรน้ำ)
1 วางแผนการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ทำการเกษตรที่ใช้น้ำน้อย แตให้ผลผลิตสูงด้วยการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย
2 สร้างและจัดหาพื้นที่กักเก็บน้ำผิวตินที่ได้จากฝน เช่น อ่างเก็บน้ำรูปแบบต่าง ๆ
3 จัดการและอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้บริเวณตันน้ำ เพื่อให้มีปริมาณฝนที่เป็นน้ำต้นทุนในปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้
สาเหตุ(มลพิษทางน้ำ)
มีสาเหตุมาจากการทิ้งของเสียและสิ่งปฏิกูลจากชุมชน การปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมและการเพาะปลูกโดยใช้สารเอมี ทำให้เมื่อฝนตกสารเคมีที่ตกค้างอยู่ตามผิวดินไหลลงสู่แม่น้ำลำคลอง
ผลกระทบ(มลพิษทางน้ำ)
ส่งผลกระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ โดยสารพิษที่อยู่ในแหล่งน้ำทำให้สัตว์น้ำและพืชน้ำตาย ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำลดลง
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรค บิด และท้องเสีย
ส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียที่มีความเป็นกรดและด่างไม่เหมาะสำหรับการเกษตร
4 น้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นรบกวน และมีผลกระทบต่อหัศนียภาพ
แนวทางการจัดการ(มลพิษทางน้ำ)
1.สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถุงความสำคัญในการรักษาคุณภาพของแหล่งน้ำและการอนุรักษ์
2.รณรงค์ให้หน่อยงาน องค์กรต่างๆ มีการบำบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ
3.ลดปริมาณการใช้น้ำ และลดปริมาณขยะในครัวเรือน
4.ไม่ทิ้งขยะสิ่งปฎิกูลหรือสารพิษลงในแหล่งน้ำต่างๆ
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ
สาเหตุ
1.การปล่อยควันเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
2.การปล่อยควันเสียยานพาหนะ
3.การเผาวัชพืชหรือเศษวัสดุเพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับเกษตรกรรม
4.เกิดภัยธรรมชาติเช่น ไฟป่า ภูเขาไฟปะทุ
ผลกระทบ
1.ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์
2.ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยการมองเห็นเส้นทางของผู้ขับขี่ยานพาหนะ และอาจนำไปสู่การเกิดอุบัตืเหตุ
3.เมื่อปนเปื้อนกับฝนหรือแหล่งน้ำผิวดินทำให้น้ำมีคุณภาพลดลงหรือเกิดฝนกรด
แนวทางการจัดการ
1.ติดตามตรวจสอบการระบายอากาศจากแหล่งกำเนิดต่างๆ
เฝ้าระวังคุณภาพอากาศด้วยการ
ตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ควบคุมมลพิษทางอากาศ เช่น ลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคลลง
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
สาเหตุ
การปล่อยสารชีเอฟซี (CFC) หรือสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน
ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ แล้วไปทำลายชั้นโฮโซน (O) ในชั้นสแตโทสเฟียร์
ผลกระทบ
ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลต (UV)ผ่านลงมายังพื้นผิวโลกมากขึ้น ซึ่งอัตรายต่อสิ่งมีชีวิตต่างๆ
แนวทางการจัดการ
ช่องโหวโอโซน คือ ควบคุมการใช้วัตถุหรือสารเคมีที่ก่อให้เกิดสารซีเอฟซี เช่นกระป๋องสเปรย์ สารทำความเย็น
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรป่าไม้
สาเหตุ
1.การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า
2.การเผาป่า
3.การบุกรุก
4.ทำลายป่าเพื่อต้องการที่ดินเป็นที่อยู่
ผลกระทบ
การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ทำให้ปริมาณและชนิดสัตว์ป่าและพืชพรรณลดลง
พื้นที่บำไม้ลดลง ทำให้เกิดความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
เมื่อฝนตกหนักและไม่มีต้นไม้ยึดเกาะหน้าดิน ทำให้เกิดดินถล่มบริเวณเขตภูมิประเทศ
ป่าไม้ลดลง ทำให้ระบบอุทกวิทยาในพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปกติพื้นที่ป่าไม้จะมีน้ำไหลวินอยู่ในพื้นที่บำตลอดเวลา แต่เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย ระบบลำห้วย ลำคลอง แม่น้ำเกิดการ
เมื่อป่าไม้ลดลง ทำให้สูญเสียที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และมนุษย์
แนวทางการจัดการ
ลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป้า โดยทุกประเทศจะต้องมีมาตรการและแนวทางในการป้องกันการตัดไม้ทำลายป่าอย่างเคร่งครัด เพื่อรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงสภาพเดิม
ป้องกันการสูญเสียป้ไม้ที่เกิดจากไฟป่าในทุกประเทศ เช่น สร้างแนวกันไฟรอบพื้นที่
การฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ เช่น การปิดป่า การประกาศเป็นเขตอนุรักษ์
การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ด้วยการปลูกป่าทดแทนป่ไม้ที่ถูกทำลาย
สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
สาเหตุ
สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ไม่เฉพาะแต่การถูกคุกคามโดยมนุษย์เท่านั้น แต่ยังเกิดจากกาเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติที่รวดเร็ว เช่น อุณหภูมิของอากาศที่สูงขึ้น ไฟป่า น้ำท่วม แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ
ผลกระทบ
นำไปสู่ภาวะโฮโมโซโกชิดี คือ ภาวะพันธุ์แท้ ที่ประชากรสัตว์มีการผสมตัวเองมากขึ้นก่อให้เกิดพันธุ์แท้
2.ทำให้ระบบนิเวศในแต่ละระบบขาดตอน เช่น
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมอาจขาดตอน
ห่วงโซ่อาหารขาดตอน การพึ่งพาอาศัยกันขาดตอน และนำไปสู่การสูญเสียสายพัธุ์ชีวิตทั้งระบบ
ทำให้สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เพราะในระบบชีวนิเวศนั้นต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในการขาดแคลนอาหาร ขาดแคลนวัตถุดิบเพื่อการผลิตและขาดปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
มีผลกระทบต่อการผลิตยารักษาโรค ในทางการแพทย์มีการผลิตยาจากพืชและสัตว์ในปริมาณมาก
แนวทางการจัดการ
ลดการทำลายป่ไม้และสิ่งแวดล้อม
ออกมาตรการทางกฎหมายคุ้มครองบำ ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่า และปฏิบัติใช้อย่างเข้มงวด
จัดให้มีศูนย์อนุรักษ์และพิทักษ์สิ่งมีชีวิตทั้งในถิ่นกำเนิดและนอกถิ่นกำเนิด
จัดระบบนิเวศให้ใกล้เคียงตามธรรมชาติ โดยฟื้นฟูหรือพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมให้คงความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
ส่งเสริมการเกษตรแบบไร่นาสวนผสม เพื่อให้มีพืชและสัตว์หลากหลายชนิดมาอาศัยอยู่รวมกัน เป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรแร่และพลังงาน
สาเหตุ
1.การปนเปื้อนจากการทำเหมืองแร่ ที่ก่อให้เกิดการปนเปื้อนทั้งทางดิน ทางน้ำ ทางอากาศ เกิดปัญหาสารมลพิษ และโลหะหนักสะสมในสิ่งแวดล้อม
2.การใช้พลังงานในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ก่อให้เกิดการปล่อยสารมลพิษออกสู่สิ่งแวดล้อม
3.จากการเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
ผลกระทบ
ทรัพยากรแร่และพลังานเมื่อนำมาใช้ในปริมาณมากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศ มลพิษทางน้ำ จึงจำเป็นต้องนำมาใช้อย่างถูกวิธี และให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุดรวมทั้งส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงานของชาติ ทำให้ต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศมากขึ้น
แนวทางการจัดการ
การจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรแร่และพลังงานในหลายประเทศใช้แนวทางพลังงานทางเลือก
รัพยากรเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีจำกัด ซึ่งสามารถผลิตและนำมาหมุนเวียนใช้ได้อีก พลังงานสะอาดที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พลังงาแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงา ควาร้อน ใต้พิภพ พลังงานชีวมวล พลังงานน้ำ ในประเทศพัฒนาแล้ว เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกามีการใช้พลังงานหมุนเวียนจากความร้อนใต้พิภพ สัดส่วนประมาณร้อยละ 50 ของทั่วโลก