Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์เปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรดิน
สาเหตุ
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางกายภาพ
ความเสื่อมคุณภาพของกินทางเคมี
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางชีวภาพ
แนวทางจัดหาร
ปัญหาโครงสร้างดิน เมื่อดินถูกใช้มายาวนานจำเป็นต้องมีการไถพรวนระดับลึกเพื่อเป็นการ ทำลายชั้นดานในดิน เพื่อให้น้ำหน้าดินซึมซาบลงดินได้ตลอดทุกชั้นดินเป็นการลดการไหลบ่าและซะบ้าง ทำลายโครงสร้างของดิน
ปัญหาดินขาดธาตุอาหาร ควรลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี และหันมาใช้ปุ่มในทรีย์ทาง
ธรรมชาติ ไถกลบจากพืชโดยไม่เผาทำลาย เพิ่มปริมาณในโทรเจนโดยการปลูกพืชตระกูลถั่ว เพิ่มฟอสฟอรัสโดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์มูลค้างคาว และมีการเติมสารเคมีทางธรรมชาติ เช่น ใส่ปูนขาวเพื่อเพิ่มแคลเซียม
3 ปัญหาดินขาด ทรียวัตถุ ควรปลูกพืชหมุนประจำปี และปลูกพืชหลากหลายชนิด อย่างผสมผท ค การปลูกพืชเดี่ยว เพื่อเพิ่มความชื้นให้กับดิน ให้พืชคลุมดิน และจุลินทรีย์ในดิน ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
บริหารจัดการการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบโดยลดการปลูกพืชเชิงเดี่ยว หันมาทำการเกษตร แบบผสมผสาน ลดการใช้ปุ๋ยเคมี บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอและทั่วถึง
การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากธาตุอาหารและพัฒนาจุลชีพในดิน
ผลกระทบ
2.ผลจากการใช้ตีนต่อเนื่องมายาวนานและการชะล้างดินมีมากขึ้น เป็นผลทำให้คุณสมบัติ ทางเคมีของดิน ธาตุอาหารหลัก และธาตุอาหารรองที่สำคัญถูกชะล้างสูญเสียไปกับดิน จึงทำให้ดินจืด และชาดก คุณหารในดิน
3.ผลจากการใช้ดินซ้ำซาก การชะล้างมากขึ้นเป็นผลทำให้อินทรียวัตถุในดิน พร้อมทั้งจุลชีพ ที่เป็นประโยชน์ในดินต้องสูญเสียไป ทำให้ดินขาดอินทรียวัตถุ ขาดการเชื่อมประสานเม็ดดินและ โครงสร้างดิน เป็นผลทำให้ดินขาดความสมบูรณ์
การเสื่อมสภาพโครงสร้างดินทางกายภาพ เนื่องจากการถูกนำมาใช้มากเกินไปและขาดการ บำรุงรักษาดินอย่างถูกวิธี ทำให้ดินถูกชะล้างได้ง่าย และมีการพัฒนาชั้นตานในดิน ดินจึงไม่สามารถ ซึมซาบน้ำได้เร็ว จึงเกิดการอิ่มตัวของชั้นดินบนอย่างรวดเร็ว การไหลบ่าบนพื้นผิวหน้าดิน การชะล้าง หน้าดินจึงเกิดได้ง่าย
ในระยะหลังที่มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการค้ามากขึ้น มีการใช้เครื่องจักรไถพรวน และ มีการใช้สารเคมีเพิ่มขึ้น ทำให้ดินขาดการพัฒนาอย่างสมดุลตามธรรมชาติ ดินจึงเสื่อมโทรมหนักและ เกิดมลพิษทางดิน และเนื่องจากการใช้ปุ๋ยเคมีติดต่อกันทำให้มีสารเคมีตกค้าง เป็นผลทำให้ดินเกิด ความเสื่อมโทรม
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรน้ำ
สาเหตุ
1 การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรในประเทศต่าง ๆ ทำให้ความต้องการน้ำเพิ่มมากขึ้น 2. ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อวัฏจักรของน้ำ ทำให้แหล่งน้ำผิวดิน เช่นทะเลสาบ และแม่น้ำแห้งขอด
สถานการณ์การขาดแคลนน้ำ
สาหตุ
จากที่ตั้งอยู่ในเขตร้อน แสงแดดจัดและยาวนาน จึงมีอัตราการระเหยของน้ำผิวดินสูง นอกจากนี้ บางบริเวณยังมีพื้นที่รับน้ำเป็น หินทรายและดินทรายที่มีการระบายน้ำได้ดี กักเก็บน้ำได้น้อย
ผลกระทบ
เมืองใหญ่หลายแห่งทั่วโลกประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มและน้ำอุปโภคจาก ปริมาณน้ำที่ไม่เพียงพอและมีสารปนเปื้อน
ผลผลิต การจากภาคเกษตรกรรมทั้งพืชอาหารและสัตว์เลี้ยงเพื่อการบริโภคลดลง จนไม่เพียงพอต่อประชากรโลก
แนวทางการแก้ปัญหา
วางแผนการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ เช่น ทำการเกษตรที่ใช้น้ำน้อย แต่ให้ผลผลิตสูง
สร้างและจัดหาพื้นที่กักเก็บน้ำผิวดินที่ได้จากฝน เช่น อ่างเก็บน้ำรูปแบบต่าง ๆด้วยการใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยเพื่อสำรองน้ำจืดไว้ใช้ในช่วงที่ฝนไม่ตก
จัดการและอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้บริเวณต้นน้ำ เพื่อให้มีปริมาณฝนที่เป็นน้ำต้นทุนในปริมาณที่เพียงพอต่อการใช้
สถานการณ์มลพิษทางน้ำ
สาหตุ
จากการทั้งของเสียและสิ่งปฏิกูลจากชุมชนการปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม และการเพาะปลูกโดยใช้สารเคมี ทำให้เมื่อฝนตกสารเคมีที่ตกค้างอยู่ตามผิวดินไหลลงสู่แม่น้ำลำคลอง ประเทศต่าง ๆ ที่ประสบปัญหาพิษทางน้ำ
ผลกระทบ
ส่งผลกระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำ โดยสารพิษที่อยู่ในแหล่งน้ำทำให้สัตว์น้ำและน้ำตาย ความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งน้ำลดลง
ส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูก เพราะน้ำเสียที่มีความเป็นกรดและต่างไม่เหมาะสำหรับการเกษตร
น้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นรบกวน และมีผลกระทบต่อทัศนียภาพ พระความสวยงามของแหล่งน้ำสามารถใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ หรือจัดกิจกรรมทางน้ำเพื่อความบันเทิงได้
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค เช่น อหิวาตกโรคบิด และท้องเสีย
แนวทางการแก้ปัญหา
สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาคุณภาพของแหล่งน้ำและการอนุรักษ์นํ้า
ไม่ทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูลหรือสารพิษลงในแหล่งน้ำต่าง ๆ
ปัญหาน้ำเน่าเสียหรือการเกิดมลพิษทางน้ำ ส่วนใหญ่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ ดังนั้น ทุกคนจึงควรตระหนักถึงผลเสียและป้องกันปัญหาน้ำเน่าเสียอย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการแก้ปัญหามลพิษ ทางน้ำอย่างถูกวิธีและได้ผลอย่างยั่งยืน
รณรงค์ให้หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ มีการบำบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่แหล่งน้ำ
ลดปริมาณการใช้น้ำ และลดปริมาณขยะในครัวเรือน
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ
สาหตุ
การปล่อยควันเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
การปล่อยควันเสียจากยานพาหนะ
การเผาวัชพืชหรือเศษวัสดุเพื่อพื้นที่สำหรับเกษตรกรรม
เกิดภัยธรรมชาติ เช่น ไฟป่าภูเขาไฟระ
แนวทางการแก้ปัญหา
1 ติดตามตรวจสอบการระบายอากาศ
จากแหล่งกำเนิดต่าง ๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม โรงไฟฟ้าถ่านหินให้เป็นไปตามมาตรฐานคุณภาพ อากาศเสียตามที่กำหนด
เฝ้าระวังคุณภาพอากาศด้วยการ ตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ผลกระทบ
ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์
ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยการมองเห็นเส้นทางของผู้ขับขี่ยานพาหนะ และอาจนำไปสู่การเกิด บัติเหตุ
เมื่อปนเปื้อนกับฝนหรือแหล่งน้ำผิวดิน ทำให้น้ำมีคุณภาพลดลงหรือเกิดฝนกรด
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
สาเหตุ
จากการปล่อยสารซีเอฟซี (CFC) หรือสารคลอโรฟลูออโรคาร์บอน สู่ชั้นบรรยากาศ แล้วไปทำลายชั้นโอโซน (O) ในชั้นสแตรโทสเฟียร์
ผลกระทบ
ทำให้รังสี ตราไวโอเลต (UV) ผ่านลงมายังพื้นผิวโลกมากขึ้น โดยสถานการณ์นี้รุนแรงมากบริเวณทวีป เตาร์กติกาในขั้วโลกใต้ ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ รวมทั้งมนุษย์ที่เจ็บป่วยด้วยโรคมะเร็ง ผิวหนัง
แนวทางการแก้ปัญหา
ช่องโหว่ไฮโซน คือ ควบคุมการใช้วัตถุหรือสารเคมีที่ก่อให้เกิดสารซีเอฟซี เช่น กระป๋องสเปรย์ สารทำความเย็น
สถานการณ์ทรัพยากรป่าไม้
สาเหตุ
การเพิ่มขึ้นของประชากร
ผลกระทบ
การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ ทำให้ปริมาณและชนิดสัตว์ป่าและพืชพรรณลดลง
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ทำให้เกิดความแห้งแล้ง ฝนไม่ตกตามฤดูกาล สภาพอากาศ
เปลี่ยนแปลง เช่น เกิดลมพา
เมื่อฝนตกหนักและไม่มีต้นไม้ยึดเกาะหน้าดิน ทำให้เกิดดินถล่มบริเวณเขตภูมิประเทศ ทับบ้านเรือน และทำให้แหล่งน้ำตื้นเขิน
ป่าไม้ลดลง ทำให้ระบบอุทกวิทยาในพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยปกติพื้นที่ป่าไม้จะมีน้ำไหลรินอยู่ในพื้นที่ป่าตลอดเวลา แต่เมื่อป่าไม้ถูกทำลาย ระบบลำห้วย ลำคลอง แม่น้ำเกิดการขาดแคลนน้ำ ความชื้นในดินมีการระเหยมากขึ้น
เมื่อป่าไม้ลดลง ทำให้สูญเสียที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และมนุษย์
แนวทางการแก้ปัญหา
ลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่า โดยทุกประเทศจะต้องมีมาตรการและแนวทางในการป้องกันการตัดไม้ทำลายป่าอย่างเคร่งครัด เพื่อรักษาทรัพยากรป่าไม้ให้คงสภาพเดิม
ป้องกันการสูญเสียป่าไม้ที่เกิดจากไฟป่าในทุกประเทศ เช่น สร้างแนวกันไฟรอบพื้นที่ หลีกเลี่ยงการประกอบกิจกรรมที่เป็นเหตุให้เกิดไฟป่า
การฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ เช่น การปิดป่า การประกาศเป็นเขตอนุรักษ์ 4. การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ด้วยการปลูกป่าทดแทนป่าไม้ที่ถูกทำลาย
สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สภาพที่สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง หรือในระบบนิเวศหนึ่ง จำแนกได้ 3 ลักษณะ คือ
1 ความหลากหลายของชนิด
2 ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ดัชนีความหลากหลาย
เป็นการพิจารณาถึงความชุกชุมและความสม่ำเสมอของชนิด สิ่งมีชีวิตให้สามารถเปรียบเทียบความหลากหลายระหว่างบริเวณได้
ผลกระทบ
นำไปสู่ภาวะโอโมโรโกซิตี คือ เกาะพันธุ์แท้ ที่ประชากรสัตว์มีการผสมตัวเองมากขึ้นก่อให้เกิดพันธุ์แท้ ซึ่งอาจมียีนที่เป็นอันตรายต่อการอยู่รอดของประชากรสัตว์
ทำให้สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต เพราะในระบบชีวนิเวศนั้นต้องพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ไม้เล็กพึ่งไม้ใหญ่ ไม้เลื้อยพึ่งไม้ยืนต้น สัตว์ต่าง ๆ อาศัยป่าเป็นที่อยู่อาศัยและเป็นแหล่งอาหาร การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพย่อมเป็นการสูญเสียที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ระบบนิเวศในแต่ละระบบขาดตอน เช่น การถ่ายทอดทางพันธุกรรมอาจขาดตอน ห่วงโซ่อาหารขาดตอน การพึ่งพาอาศัยกันขาดตอน และนำไปสู่ การสูญเสียสายพันธุ์ชีวิตทั้งระบบ
แนวทางการแก้ปัญหา
ลดการทำลายป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
ออกมาตรการทางกฎหมายคุ้มครองป่า ชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่า และปฏิบัติใช้อย่างเข็มงวด
จัดระบบนิเวศให้ใกล้เคียงตามธรรมชาติ โดยฟื้นฟูหรือพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมให้คง ความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
จัดให้มีศูนย์อนุรักษ์และพิทักษ์สิ่งมีชีวิตทั้งในถิ่นกำเนิดและนอกถิ่นกำเนิด เพื่อเป็น
ที่พักพิงและอนุบาลชั่วคราว ก่อนนำกลับไปสู่ธรรมชาติ เช่น สวนพฤกศาสตร์ ศูนย์เพาะเลี้ยงสัตว์
ส่งเสริมการเกษตรแบบไร่นาสวนผสม เพื่อให้มีพืชและสัตว์หลากหลายชนิดมาอาศัยอยู่รวมกันเป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรแร่และพลังงาน
ผลกระทบ
ทรัพยากรแร่และพลังงานเมื่อนำมาใช้ในปริมาณมากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษ ทางจากมลพิษทางน้ำ จึงจำเป็นต้องนำมาใช้อย่างถูกวิธี และให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด รวมทั้งส่งผลกระทบต่อความมั่นคงการพลังงานของชาติ ทำให้ต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศมากขึ้น
แนวทางจัดการ
การจัดการเกี่ยวกับทรัพยากรแรและพลังงานในหลายประเทศใช้แนวทางพลังงานทางเลือก ทดแทนทรัพยากรเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีจำกัด ซึ่งสามารถผลิตและนำมาหมุนเวียนใช้ได้อีก รวมทั้งเป็น พลังงานสะอาดที่ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเช่นพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานความร้อน ได้รับการ พลังงานชีวมวล พลังงานน้ำ ในประเทศพัฒนาแล้ว เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกา การใช้พลัง หมุนเวียนจากความร้อนใต้พิภพ สัดส่วนประมาณร้อยละ 50 ของทั่วไทย
สาเหตุ
จาก จำนวนประชากรโลกที่เพิ่มขึ้น ทำให้ความต้องการพลังงานเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะในประเทศกำลังพัฒนา การผลิตและสำรวจหาแหล่งทรัพยากรแร่และหลังงานเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มากขึ้น จึงเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิต