Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - Coggle Diagram
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรดิน
การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรดินทำให้เกิดความเสื่อมคุณภาพของดิน มีสาเหตุจากธรรมชาติและจากมนุษย์ ดังนี้
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางกายภาพ
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางเคมี
ความเสื่อมคุณภาพของดินทางชีวภาพ
ผลกระทบ
การเสื่อมสภาพโครงสร้างดินทางกายภาพ เนื่องจากการถูกนำมาใช้มากเกินไป
ผลจากการใช้ดินต่อเนื่องมายาวนานและการชะล้างดินที่มากกขึ้น ทำให้คุณสมบัติทางเคมีของดินและแร่ธาตุต่างๆถูกชำระล้าง
ผลจากการใช้ดินซ้ำซาก การชะล้างมากขึ้นทำให้อินทรีย์วัตถุในดินพร้อมทั้งจุลชีพที่เป็นประโยชน์ในดินต้องสูญเสียไป
มีการปลูกพืชเชิงเดี่ยวเพื่อการค้ามากขึ้น มีการใช้เครื่องจักรและสารเคมีมากขึ้น ทำให้ดินขาดพัฒนาอย่างสมดุลตามธรรมชาติ
แนวทางการจัดการ
ปัญหาโครงสร้างดิน
ปัญหาดินขาดธาตุอาหาร
ปัญหาดินขาดอินทรีย์วัตถุ
บริหารจัดการการใช้ที่ดินอย่างเป็นระบบ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงคุณภาพอากาศ
สาเหตุมลพิษทางอากาศ
การปล่อยความเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
การปล่อยควันเสียจากยานพาหนะ
การเผาวัชพืชหรือวัสดุเพื่อเตรียมพื้นที่สำหรับเกษตรกรรม
การเกิดภัยธรรมชาติเช่น ไฟป่า
ผลกระทบจากมลพิษทางอากาศ
ส่งผลต่อระบบทางเดินหายใจของมนุษย์และสัตว์
ส่งผลกระทบต่อทัศนวิสัยการมองเห็นเส้นทางของผู้ขับขี่ยานพาหนะและอาจนำไปสู่การเกิดอุบัติเหตุ
เมื่อปนเปื้อนกับฝนหรือแหล่งน้ำผิวดินทำให้น้ำมีคุณภาพลดลงหรือเกิดฝนกรด
แนวทางการจัดการ
ติดตามตรวจสอบการระบายอากาศจากแหล่งกำเนิดต่างๆ
เฝ้าระวังคุณภาพอากาศด้วยการตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
ควบคุมมลพิษทางอากาศ
สถานการณ์ทรัพยากรป่าไม้
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้ของโลกที่สำคัญ คือ การสูญเสียทรัพยากรป่าไม้เป็นจำนวนมาก
ผลกระทบ
การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้ทำให้ปริมาณและชนิดสัตว์ป่าและพืชพันธุ์ลดลง
พื้นที่ป่าไม้ลดลง ทำให้เกิดความแห้งแล้ง ฝนตกไม่ตรงตามฤดูกาล สภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
เมื่อฝนตกหนักและไม่มีต้นไม้ยึดเกาะหน้าดินทำให้เกิดดินถล่ม
ป่าไม้ลดลง ทำให้ระบบอุทกวิทยาในพื้นที่เกิดการเปลี่ยนแปลงโดยปกติพื้นที่ป่าไม้จะมีน้ำไหลเองอยู่ในพื้นที่ป่าตลอดเวลาแต่เมื่อป่าหลายถูกทำลาย แม่ก็เกิดการขาดแคลนน้ำ
เมื่อกล่าวหายลดลงทำให้สูญเสียที่อยู่อาศัยและแหล่งอาหารของสิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และมนุษย์
แนวทางการจัดการ
ลดปริมาณการตัดไม้ทำลายป่า
ป้องกันการสูญเสียป่าไม้ที่เกิดจากไฟป่าในทุกประเทศ
การฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้
การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ด้วยการปลูกป่าทดแทนป่าไม้ที่ถูกทำลาย
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่สำคัญของโลกส่งผลกระทบในวงกว้างคือ การเกิดช่องโหว่โอโซนในชั้นบรรยากาศ
สาเหตุ
เกิดจากการปล่อยสารซีเอฟซี สู่ชั้นบรรยากาศ
ผลกระทบ
ทำให้รังสีอัลตราไวโอเลตผ่านลงมายังพื้นผิวโลกมากขึ้น
การจัดการปัญหา
ควบคุมการใช้วัตถุหรือสารเคมีที่ก่อให้เกิดสารซีเอฟซี
สถานการณ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สิ่งมีชีวิตหลายหลายชนิดมาอยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง จำแนกได้ 3 ลักษณะ คือ
ความหลากหลายของชนิด
ความหลากหลายทางพันธุกรรม
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ดัชนีความหลากหลาย
พิจารณาถึงความชุกชุมและคามสม่ำเสมอของชนิดสิ่งมีชีวิต ให้สามารถเปรีบยเทียบความหลากหลายระหว่างบริเวณได้
ผลกระทบ
นำไปสู่ภาวะโฮโมโซโกวิตี คือ ภาวะพันธุ์แท้
การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ทำให้ระบบนิเวศในแต่ละระบบขาดตอน
ทำให้สูญเสียถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิต
ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศในการขาดแคลนอาหาร ขาดแคลนวัตถุดิบและขาดปัจจัยที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต
ผลกระทบต่อการผลิตยารักษาโรค
แนวทางการจัดการ
ลดการทำลายป่าไม้และสิ่งแวดล้อม
ออกมาตรการทางกฎหมายคุ้มครองป่า และปฏิบัติใช้อย่างเข้มงวด
ฟื้นฟูหรือพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมให้คงความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุด
จัดให้มีศูนย์อนุรักษ์และพิทักษ์สิ่งมีชีวิตทั้งในถิ่นกำเนิดและนอกถิ่นกำเนิด
ส่งเสริมการเกษรแบบไร่นาสวนผสม
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรน้ำ
การเปลี่ยนแปลงด้านปริมาณงานและคุณภาพน้ำที่มนุษย์นำมาใช้ประโยชน์มีสาเหตุสำคัญ ดังนี้
การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรในประเทศต่างๆ ทำให้ความต้องการน้ำเพิ่มมากขึ้น
ภาวะโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อวัฏจักรของน้ำ ทำให้แหล่งน้ำผิวดิน เช่น ทะเลสาบและแม่น้ำ แห้งขอด
มี 2 สถานการณ์ ได้แก่
สถานการณ์การขาดแคลนน้ำ
แนวทางการจัดการ
วางแผนการใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ
สร้างและจัดหาพื้นที่กักเก็บน้ำผิวดินที่ได้จากฝน
จัดการและอนุรักษ์พื้นที่ป่าไม้บริเวณต้นน้ำ เพื่อให้ปริมาณฝนมีปริมาณใช้ที่เพียงพอ
ผลกระทบ
การเสียชีวิตด้วยโรคที่เกิดจากน้ำที่ไม่สะอาด
น้ำไม่เพียงพอและเกิดสารปนเปื้อน
สถานการณ์มลพิษทางน้ำ
มนุษย์ใช้ในการอุปโภคบริโภคมีคุณภาพลดลงจนเกิดมลพิษทางน้ำโดยมีสาเหตุมาจากการทิ้งของเสีย
ผลกระทบ
ส่งผลกระทบต่อวงจรชีวิตของสัตว์น้ำโดยสารพิษที่อยู่ในแหล่งน้ำทำให้สัตว์น้ำตาย
เป็นแหล่งแพร่ระบาดของเชื้อโรค
ส่งผลกระทบต่อการเพาะปลูก
น้ำเน่าเสีย มีกลิ่นเหม็นรบกวน
แนวทางการจัดการ
สร้างจิตสำนึกให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญในการรักษาคุณภาพของแหล่งน้ำ
รณรงค์ให้หน่วยงาน องกรณ์ต่างๆ มีการบำบัดและขจัดสารพิษก่อนที่จะปล่อยลงสู่น้ำ
ลดปริมาณการใช้น้ำ และขยะในครัวเรือน
ไม่ทิ้งยะ หรือสิ่งต่างๆลงในแม่น้ำ
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรแร่และพลังงาน
แนวทางการจัดการ
การจัดการเกี่ยวกับทรัพยากร ในหลายประเทศใช้แนวทางพลังงานทางเลือกทดแทนทรัพยากรเชื้อเพลิงฟอสซิลที่มีจำกัด สามารถผลิตและนำมาหมุนเวียนใช้ได้อีก
เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เป็นทรัพยากรที่สำคัญต่อการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ ส่งต่อผลความมั่นคงของประเทศ เป็นวัตถุดิบที่สำคัญในการผลิตของอุตสาหกรรม เพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์
ผลกระทบ
เมื่อนำมาใช้ในปริมาณมากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางอากาศ
ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงทางพลังงานของชาติ ทำให้ต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศมากขึ้น