Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน - Coggle Diagram
กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน
1.การประเมินชุมชน (Community assessment)
กระบวนการสร้างสัมพันธภาพกับชุมชน เพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาชุมชน
การศึกษาชุมชน: การทำแผนที่ชุมชน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การบรรณาธิการข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอข้อมูล
2.การวินิจฉัยปัญหาอนามัยชุมชน (Community Diagnosis)
การระบุปัญหาสุขภาพชุมชน
หลัก 5 D
เปรียบเที่ยบเกณฑ์หรือมาตรฐานสากล
ใช้กระบวนการกลุ่ม
การกำหนดปัญหา ข้อวินิจฉัยการพยาบาลชุมชน
ปัญหาที่แท้จริงชุมชน
ความเสี่ยงของชุมชน
ภาวะสุขภาพที่ดีของชุมชน
การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา พิจารณาจาก
ขนาดของปัญหา
ความรุนแรงของปัญหา
ความยากง่ายของการแก้ปัญหา
ความวิตกกังวลหรือความห่วงใยชุมชน
การศึกษาสาเหตุของปัญหาอนามัยชุมชน
3.การวางแผนเพื่อแก้ปัญหาอนามัยชุมชน (Community Planning)
การเขียนแผนงานหลัก หรือแผนแม่บท (Master Plan)
ปัญหาสาธารณสุข: นำปัญหาที่ได้เลือกและจัดลำดับของความสำคัญของปัญหาไว้แล้วมาวางแผนเพื่อแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุของปัญหาอย่างละเอียด: วิเคราะห์สาเหตุของปัญหานั้นๆ อย่างมีหลักวิชาการ โดยพิจารณาจากข้อสนับสนุนที่เกี่ยวข้อกับปัญหา
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย: ควรระบุระยะเวลาว่าจะทำในเวลาเท่าใด
กลวิธีการดำเนินงาน: เป็นการกำหนดวิธีการแก้ปัญหาหลายๆวิธี เพื่อบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
ทรัพยากรหรือแหล่งประโยชน์ที่จะใช้แก้ปัญหา: คน เงิน/งบประมาณ วัสดุ เทคโนโลยีและการบริหารจัดการ หรือเรียกว่า 4Ms
ผู้รับผิดชอบ: คนรับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาตามกลวิธีทางสาธารณสุข
การประเมินผล: กำหนดรูปแบบวิธีการประเมินผล เกณฑ์การประเมิน ผลการประเมิน ดำเนินงานตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
แผนงานย่อย (Sub plan)
1.ชื่อโครงการ
2.หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
3.หลักการและเหตุผล
4.วัตถุประสงค์ตามหลัก SMART
5.เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์รอง
6.กลุ่มเป้าหมาย
7.สถานที่ในการดำเนินโครงการ
8.กลวิธีการดำเนินงาน
9.ตัวบ่งชี้และค่าเป้าหมาย
10.งบประมาณ
11.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
12.การประเมินผล
4.การปฏิบัติงานตามแผนสุขภาพ (Community Implementation)
เป็นการนำแผนงานที่วางไว้มาปฏิบัติ โดยมีการเตรียมทรัพยากร บุคคลที่เกี่ยวข้องพร้อมกับประสานงานชุมชนกับหน่วยงานเข้าด้วยกัน
5.การประเมินผลการดำเนินงาน (Community Evaluation)
จำแนกประเภทโดยใช้เวลา
1.การประเมินผลก่อนการปฏิบัติงาน
2.การประเมินผลขณะปฏิบัติงาน
3.การประเมินผลหลังปฏิบัติงาน
-ประเมินประสิทธิภาพ
-ประเมินประสิทธิผล
-ประเมินผลกระทบ
จำแนกประเภทโดยใช้วิธีการและรูปแบบของการประเมินผล
1.การประเมินผลเป้าประสงค์
2.การประเมินผลกระทบ
-ประเมินบริบทของโครงการ
-ประเมินปัจจัยนำเข้า
-ประเมินกระบวนการ
-ประเมินผลผลิตที่ได้จากการดำเนินตามโครงการ