Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Early Postpartum Hemorrhage :PPH) การตกเลือดหลังคลอด, การวินิจฉัยภาวะโลห…
(Early Postpartum Hemorrhage :PPH)
การตกเลือดหลังคลอด
Hypovolemic shock
สาเหตุ
จากการตกเลือดที่มีการฉีกขาดของ
หลอดเลือดใหญ่ เช่น การผ่าตัด
การคลอด การแท้งตกเลือดหลังคลอดจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี ตกเลือดจากแผล
มารดา G5P5A0L5 GA 40 wks. With Grand
Multipara With Vaginal Delivery With Retained Placenta With Manual removal of placenta With hypovolemic shock With Post partum
เกิดแผลฉีกขาดทางช่องคลอด perineum 1st degree tear
หลังจากการคลอดทารกพบว่าไม่มีการลอกตัวของรก Try control cord traction failed
จากการคลอด blood lost 450 ml และหลังจาการล้วงรกพบว่ารกมีน้ำหนัก 900 mg ทำให้เกิดแผลขนาดใหญ่ blood lost จากห้อง OR 500 ml รวมแล้วtotal blood lost ทั้งหมด 1130 ml
การได้รับบาดเจ็บ มีแผลไฟไหม้หรือน้ำร้อนลวก เรียกว่า burn shock
อาการแสดงของภาวะช็อก
ระยะเริ่มต้น ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงมาก
ระยะชดเชย มีอาการกระสับ กระส่าย หงุดหงิด และพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรเบาเร็ว
หลังคลอดมีอาการอ่อนเพลีย
v/s BP 70/50 mmHg PR 24 bpm จาก OR (1/12/65)
ระยะสุดท้ายหรือระยะที่ไม่สามารถกลับฟื้นได้จะมีอาการเหงื่อออกมาก (diaphoresis)
ไตวาย ปัสสาวะออกน้อยกว่า 20 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง มีจุดจ้ำเลือดตามผิวหนังมีภาวะเลือดออกง่าย ซึม หัวใจเต้น ผิดปกติหรือหยุดเต้น ชักและหมดสติ
การวินิจฉัยภาวะช็อก
การซักประวัติ เกี่ยวกับปัจจัยที่จะส่งเสริมหรือเป็นสาเหตุของภาวะช็อก เช่น โรคประจําตัว การเสียเลือดหรือการติดเชื้อในร่างกาย
การตรวจร่างกาย เพื่อประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะช็อกหรือระบบหายใจ
ประเมิน V/S อุณหภูมิร่างกาย ความดันโลหิต ชีพจร อัตราการหายใจ และอัตราการเต้นของหัวใจละผลการประเมินพบว่า BP 70/50 mmHg PR 24 bpm จาก OR (1/12/65)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์
สาเหตุของภาวะโลหิตจางในสตรีตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia: IDA)
ปริมาณเลือดโดยพลาสมา จะเพิ่มข้นร้อยละ 40-50 แต่ปริมานการเพิ่มขึ้นของเม็ดเลือดแดงจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 20-30 ค่า Lab ll Hct 31.2 %
ภาวะโลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
การซักประวัติ ได้แก่ พฤติกรรมการรับประทานอาหาร ประวัติการรับประหารยาธาตุ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการComplete Blood Count (CBC) : Hct < 33%, Hb < 11 gm/dL MCV < 80 ferntoliter(f),MCH < 27 pg
จากประวัติ ANC พบว่า
LabI พบว่า Hct 34.1%, MCV 79.5 fL, MCH 24.9 pg
Lab II พบว่า Hct 31.2%, MCV 75.5 fL, MCH 25.2 pg Hb 10.4 g/dl
ผลและ Hct จาก LR พบ 31.2% เยื่อบุตาซีด
การตรวจปริมาณธาตุเหล็กในเลือด ได้แก่ Serum ferritin น้อยกว่า 30 ng/ml
การวินิจฉัยภาวะโลหิตจางจากการขาดวิตามินบี 12
จากประวัติ และ การตรวจร่างกาย
CBC พบ RBC index พบ macrocyte โดยมีค่า MCV มากกว่า 100 fL
การวินิจฉัยการตกเลือดหลังคลอด
การซักประวัติ
มีประวัติตกเลือด และล้วงรกในครรภ์ที่ 3
ผลตรวจจากการ
ANC LabI Hct 34.1%,
MCV 79.5 fL, MCH 24.9 pg
Lab II Hct 31.2%, MCV 75.5 fL, MCH 25.2 pg Hb 10.4 g/dl
Hct จาก LR พบ 32 %
การตรวจร่างกาย
คาดคะเนปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดภายหลังทารกคลอด
สังเกตอาการแสดงของการเสียเลือด
เยื่อบุตาซีด
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
Active Phase ใช้เวลามากกว่า 5 ชั่วโมง
ตั้งแต่ 12.00 น. – 05.50 น. ใช้เวลา 19 ชม. 50 นาที ทำให้เกิดเป็น Prolonged active phase มดลูกเกิดการล้าจากการที่หดรัดตัวเป็นเวลานานทำให้การหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติไป
เกิดแผลฉีกขาดทางช่องคลอด perineum 1st degree tear
หลังคลอดทารกไม่มีการลอกตัวของรก Try control cord traction failed หลังจากการคลอด EBL 450 ml และหลังจาการล้วงรกพบว่ารกมีน้ำหนัก 900 mg ทำให้เกิดแผลขนาดใหญ่
การตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก
(early or immediate or primary postpartum hemorrhage)
สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
Tone คือ ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
โดยการไม่หดรัดตัวของมดลูก (uterine atony)
ปัจจัยส่งเสริมให้มดลูกหด รัดตัวไม่ดี
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีระหว่างการคลอด (uterine inertia)
การตกเลือดก่อนคลอด มักเกิดจากความผิดปกติของรก ที่สําคัญได้แก่
รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด
การคลอดที่ไม่ปกติได้แก่ การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน (prolonged labor) glycogen
การคลอดเฉียบพลัน (precipitate labor)
Bladder full
ทําให้ขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
การตั้งครรภ์และการคลอดบุตรเกิน 5คน (grandmultipara) ซึ่งมักจะมีพังผืด แทรกอยู่ระหว่างใยกล้ามเนื้อ
การอักเสบติดเชื้อภายในโพรงมดลูก เช่น เยื้อหุ้มเด็กอักเสบติดเชื้อ
มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป
เกิดมดลูกล้า
(Early Postpartum Hemorrhage :PPH)
Trauma คือ การมีบาดแผลฉีกขาดของช่องทางคลอด อาจทําให้มีเลือดออกได้มาก
การล้วงรกทำให้เกิดการบาดเจ็บที่โพรงมดลูก
เกิดการเสียเลือด
. Thrombin คือ การแข็งตัวของเลือด
การได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด เช่น heparin
โรคเลือด เช่น ITP, aplastic anemia มะเร็งเม็ดเลือดขาว
Disseminated intravascular coagulation(DIC)
Tissue
เมื่อไข่ได้รับการปฎิสนธิ
ไข่แบ่งตัวกลายเป็น Blastocyst
เเบ่งตัว
Trophoblast
กลายเป็นรก
Syncytiotrophoblast
รกชั้นนอก
1 more item...
Cytotrophoblaism รกชั้นใน
Inner cell mass
กลายเป็นทารก
การตกเลือดหลังคลอดในระยะหลัง
(lateor secondary postpartumhemorrhage)
สาเหตุของการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
เศษรกหรือเยื่อหุ้มรกค้าง มักจะมีอาการเลือดออกภายหลังคลอดประมาณ 1 สัปดาห์
ภาวะติดเชื้อในโพรงมดลูก
อาการแสดงของการตกเลือดหลังคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอด
ผู้คลอดมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย มีเลือดไหลออกมาปริมาณมาก เลือดหลังการคลอดทารกได้ 350 ml และเลือดที่ออกระหว่างการส่งตัวมาที่โรงพยาบาลเทพรัตน์ 100 ml หลังออกจาก OR blood lost 500 ml รวมทั้งหมด 1130 ml
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
น้ำคาวปลาจะมีกลิ่นเหม็นมีสีแดงคล้ำหรือสีน้ำตาลเป็นเวลานานและมีอุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น
ปวดท้องน้อย
การวินิจฉัยภาวะโลหิตจางจากการขาดกรดโฟลิค
จากประวัติ และ การตรวจร่างกาย
CBC: Hct. < 33%, Hb < 11 gm/dl. MCV มากกว่า 100 fl
RBC morphology: Megaloblastic RBC, Macrocytic erythrocytes
การคลอดยาวนาน
Prolong labor
มดลูกหดรัดตัวนาน
มดลูกเกิดการล้า
ระยะ Active Phate ใช้เวลา 19 ชั่วโมง 50 นาที
ผู้คลอด G5P5A0L5
Grand multipara
เกิดผังผืดแทรกในกล้ามเนื้อ
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
รกค้าง
อาการเเละอาการเเสดง
ปวดท้องน้อย
เลือดออกกระปริดกระปรอยทางช่องคลอด
ตกเลือดหลังลอด
สาเหตุของมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
Bladder full
มารดาอ่อนเพลียจากการขาดเลือดและน้ำ
ได้รับยายับยั้งความรู้สึกมากเกินไป
Placenta adherens(รกติดเเน่น)
เคยขูดมดลูกมาก่อน
รกเกาะต่ำ
ผ่าท้องคลอดหลายครั้ง
เคยมีประวัติรกเกาะเเน่น
มารดาอายุมาก
เคยล้วงรกในครรภ์ที่ 3
ทำให้ผนังโพรงมดลูกที่เคยเกาะบางตัวลง
รกอาจจะเกาะบริเวณในชั้นกล้ามเนื้อ
Maternal Plancenta
Decidua Basalis
ชั้น Spogiosa เหนียวกว่าปกติขาดยาก
Placenta membrainacea ?
Placenta acereta
Placenta increte
Placenta Percreate
ยับยั้ง
ทำให้