Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทางไกล (Tele-nursing) , สถานพยาบาลที่ให้การพยาบาลทางไกลต้องจัดใ…
การพยาบาลทางไกล (Tele-nursing)
ความหมาย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการให้บริการพยาบาลเมื่อใดก็ตามที่มีระยะห่างทางกายภาพระหว่างผู้ป่วยกับพยาบาล เป็นส่วนหนึ่งของ telemedicineและมีจุดติดต่อกับการใช้งานทางการแพทย์และที่ไม่ใช่ทางการแพทย์อื่นๆ เช่น telediagnosis , teleconsultation และ telemonitoring (อย่างไรก็ตามอาจมีขอบเขตมากขึ้นในการที่จะได้รับการพัฒนาเนื่องจากข้อมูลเกี่ยวกับ telenursing ยังไม่ครอบคลุมเพียงพอ)
Link Title
หลักการแนวคิด
1.การผสมผสานระหว่างวิทยาการคอมพิวเตอร์ สารสนเทศศาสตร์ และ วิทยาศาสตร์การพยาบาล
2.เพื่อช่วยในการจัดการและประมวลผลข้อมูล การพยาบาล ข้อมูล และความรู้เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการพยาบาลและการให้การพยาบาล
3.อาจเป็นรูปแอปพลิเคชั่นที่มีศักยภาพของสารสนเทศทางการพยาบาล เป็นแนวคิดพื้นฐานที่สำคัญในการพัฒนางานบริการสุขภาพ เช่น line official
บทบาทของพยาบาลผู้จัดการรายกรณีในการพยาบาลทางไกล
3) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดโดยกระบวนการพยาบาลเน้นการมีส่วนร่วมจากสหสาขา ประยุกต์ ตอบสนองความต้องการผู้ป่วย และเน้นการทำงานเป็นทีมในการให้การพยาบาลทางไกลรายกรณี
ประเมินสภาพการณ์ และประเมินกลุ่มเป้าหมายโดยใช้แบบประเมินที่เหมาะสมครอบคลุมการพยาบาลทางไกลแบบองค์รวม
1.การค้นหาและคัดูเลือกผู้ป่วยที่เหมาะสมในการรับบริการทางไกล รวมถึงตั้งวัตถุปะสงค์ และเป้าหมายในการดูแล
กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ประเด็นจริยธรรม
การพยาบาลทางไกล (Tele-nursing) หมายความว่า การพยาบาล และการผดุงครรภ์ เพื่อให้คำปรึกษาและแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขอนามัย ภายใต้กรอบความรู้แห่งวิชาชีพการพยาบาล และ การผดุงครรภ์ โดยนำระบบดิจิทัลมาใช้ในการให้บริการ ทั้งนี้โดยความรับผิดชอบของผู้ให้การพยาบาลทางไกล
ตัวอย่าง
Preterm 15ราย/ปี
PIH 10 ราย/ปี
DM 10 ราย/ปี
สถานพยาบาลที่ให้การพยาบาลทางไกลต้องจัดให้มี
1.ระบบดิจิทัลที่นำมาใช้ในการพยาบาลทางไกล สามารถสื่อสารระหว่าง ผู้ให้การพยาบาลทางไกลและผู้รับการพยาบาลทางไกลอย่างชัดเจน
2.ระบบทะเบียนและการบันทึกประวัติ ผู้รับการพยาบาลทางไกลและข้อมูลการพยาบาลทางไกล
3.ระบบการบันทึกข้อมูล เสียง/ภาพ หรือวิดีโอ ระหว่างการพยาบาลทางไกล โดยต้องรักษาความลับของผู้รับการพยาบาลทางไกล ที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. ๒๕๖๒ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวข้อง (PDPA)
4.ยื่นแบบคำขอบริการเพิ่มเติมการบริการ การพยาบาลทางไกล ต่อสำนักงาน สาธารณสุขจังหวัด
หรือกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
องค์ประกอบแนวทางการพยาบาลทางไกล (Tele-nursing)
ผู้ให้การพยาบาลทางไกล
ให้การพยาบาลทางไกลตามที่กำหนด ไว้ในพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ และที่แก้ไขเพิ่มเติม และข้อจำกัดและเงื่อนไขที่สภาการพยาบาล กำหนด และต้องรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพ สามารถปฏิเสธการให้บริการหากพบว่ามีข้อจำกัด ในเรื่องข้อมูลด้านสุขภาพ และการติดต่อสื่อสารทางโทรคมนาคม
ผู้รับการพยาบาลทางไกล
1.ต้องขึ้นทะเบียน ไว้กับสถานพยาบาล
2.เคยได้รับการพยาบาลแบบต่อหน้ากับผู้ให้การพยาบาลทางไกลมาก่อน
4.สามารถยกเลิก การรับการพยาบาลทางไกลได้
3.ต้องยอมรับ (ยินยอม/อนุญาติ) การบันทึกข้อมูลเสียงหรือวิดีโอในขณะให้บริการ