Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Cesarean Section การผ่าตัดคลอด - Coggle Diagram
Cesarean Section การผ่าตัดคลอด
ประเภทการผ่าตัดคลอด
การผ่าตัดโดยกำหนดล่วงหน้า (Elective CesareanSect ion ) ในรายที่มีข้อบ่งชี้ชัดเจน เช่น CPD , breech presentation แพทย์อาจกำหนดวันผ่าตัด1-2 สัปดาห์ก่อนครบกำหนดคลอด
การผ่าตัดฉุกเฉิน (Emergency Cesarean Sect ion ) ในรายที่มีข้อบ่งชี้เร่งด่วน
ชนิดการผ่าตัดบริเวณมดลูก
1.low transverse cesarean section
1.1 low transverse C/S ผ่าตัดแนวขวางที่ส่วนล่างของมดลูก เย็บง่าย เสียเลือดจากผ่าตัดน้อย แผลแตกได้ยาก
1.2 low vertical C/S ผ่าตัดตามแนวตั้งที่ส่วนล่างของผนังมดลูก
Classical incision ผ่าตัดในแนวตั้ง ที่บริเวณส่วนบนของมดลูก ใกล้ๆ กับยอดมดลูก
Inverted T-shaped incision ผ่าตัดบริเวณส่วนล่างของมดลุกในแนวขวาง แล้วทำคลอดทารกออกยาก จึงต้องตัดเพิ่มเป็นรูปตัวทีกลับหัว
5.การผ่าตัดแบบ Extraperitoneal cesarean section เป็นการผ่าตัดที่ผนังมดลูก โดยไม่ต้องผ่านเข้าภายช่องท้อง จะเลาะผ่าน Retzius space เข้าใต้กระเพาะปัสสาวะ เข้าหามดลุกส่วนล่าง ไม่นิยม
Cesarean hyterectomy หรือ Porro cesarean sectionเป็นการผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้องตามธรรมดา ร่วมกับผ่าตัดเอามดลุกออกไปในครั้งเดียวกัน ไม่นิยม
ข้อบ่งชี้
มารดา
การติดเชื้อรุนแรงที่ปากมดลูก ช่องคลอด หรืออวัยวะสืบพันธุ์
ตั้งครรภ์ ภายหลังตกแต่งปากมดลูกหรือช่องคลอด
ภาวะรกเกาะต่ำ โดยเฉพาะ Placenta previa totalis
เคยผ่าตัดที่ผนังมดลูกมาก่อน
การคลอดติดขัด เช่น CPD, การหดรัดตัวของมดลูกรุนแรงไม่สม่ำเสมอ หรือหดรัดตัวน้อยที่แก้ไขไม่ได้ผล และปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ความผิดปกติของเชิงกราน หรือช่องทางคลอดแต่กำเนิด
หรือจากอุบัติเหตุ
มีประวัติอันตรายจากการคลอด เช่น คลอดยาก ทารกตายคลอด G1 อายุ 35 ปีขึ้นไป
มีเลือดออกในระยะหลังของการตั้งครรภ์
มะเร็งปากมดลูกในระยะลุกลาม
โรคแทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น Severe pre-eclampsia หรือโรคแทรกช้อนทางอายุรกรรม เช่น โรคหัวใจ โรคไตเรื้อรัง
ทารก
อยู่ในท่าผิดปกติที่ไม่สามารถคลอดเองได้
สายสะดือพลัดต่ำ
ท่าก้นในครรภ์แรก
Fetal distress
ครรภ์แฝดที่ทารกไม่อยู่ในท่าศีรษะ
ภาวะแทรกซ้อน
ขณะ
การฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูก
การบาดเจ็บต่อทารก
บาดเจ็บต่อกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
เกิดฉีกขาดของแผลผ่าตัดบนตัวมดลูกจนถึงปากมดลูก
ภาวะแทรกช้อนทางวิสัญญี ได้แก่ สำลักน้ำและอาหารเข้าปอดกดการหายใจ
หลัง
เกิดการอักเสบติดเชื้อภายในช่องท้องและเกิดหนองในอุ้งเชิงกราน
ภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญี ได้แก่ ท้องอืด
เกิดการอักเสบของแผลผ่าตัด
เกิดการอักเสบของเยื่อบุโพรงมดลูก
เกิดการอักเสบของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดออกภายในช่องท้องหลังผ่าตัด
เกิดการตกเลือดหลังคลอดภายหลังร่วมกับภาวะช็อค
การพยาบาล
ก่อน
เตรียมด้านจิตใจ อธิบายให้ทราบเหตุผลและความจำเป็นในการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและขั้นตอนการทำร่วมทั้งการ ปฏิบัติตนหลังผ่าตัด
งดน้ำและอาหารทางปากอย่างน้อย 8 ชั่วโมง
สวนอุจจาระเพื่อให้ลำไส้ว่าง
เตรียมบริเวณผ่าตัดโดยการโกนขนบริเวณใต้ลิ้นปีถึงกึ่งกลางหน้าขารวมทั้งบริเวณ perineum
เจาะเลือดส่งตรวจหาความเข้มข้นและหาหมู่เลือด พร้อมทั้งขอเลือดไว้
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์ เช่น ฟังเสียงหัวใจทารก
ตรวจสอบและถอดฟันปลอม แหวน เครื่องประดับ ล้างสีเล็บ
ให้เซ็นต์ใบยินยอมผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ประเมินสัญญาณชีพ รายงานก่อนส่งไปห้องผ่าตัด
รายงานกุมารแพทย์เพื่อให้การช่วยเหลือทารกแรกเกิด
หลัง
จัดท่านอนหงายราบไม่หนุนหมอน ตะแคงศีรษะ จนกว่าจะรู้สึกตัวดี หรือกรณีได้รับยาระงับความรู้สึกแบบเฉพาะที่ จัดให้ นอนราบอย่างน้อย 12 ชั่วโมง
ประเมินแผลผ่าตัดทางหน้าท้องว่ามีเลือดซึมหรือไม่
ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอโดยใส่ผ้าชับเลือดไว้ใน 2 ชั่วโมงหลังคลอดไม่ควรมากกว่า 100 ซีซี.
ประเมินสัญญาณชีพทุก 15 นาที ในชั่วโมงแรก ทุก 30 นาทีในชั่วโมงที่สอง และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่ จากนั้นวัดทุก 4 ชั่วโมง
ดูแลเรื่องความสุขสบายและการให้ยาระงับความเจ็บปวด
ดูแลเรื่องการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เนื่องจากผู้คลอดยังคงต้องงดอาหารและน้ำทางปากหลังผ่าตัด 24-48 ชั่วโมง
ประเมินลักษณะ สี และจำนวนของปัสสาวะ ดูแลสายสวนปัสสาวะไม่ให้พับงอ
บันทึกน้ำเข้าและออก