Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับการจัดการภัยพิบัติ, นางสาวสิริปืยา…
หน่วยที่ 4 ภัยพิบัติทางธรรมชาติกับการจัดการภัยพิบัติ
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
1.1 แผ่นดินไหว
สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
การเคลื่อนตัวฉับพลันของรอยเลื่อนมีพลัง
การปะทุของภูเขาไฟ
ขนาดและความรุนแรงของแผ่นดินไหว
ภัยต่างๆที่เกิดจากแผนดินไหว
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดินไหวของโลก
แนววงแหวนแห่งไฟ
แนวภูเขาแอลป์-หิมาลัย
แนวสันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก
เหตุการณ์แผ่นดินไหวที่รุนแรง
1.2 ภูเขาไฟปะทุ
ประเภทของภูเขาไปปะทุ
ภูเขาไฟปะทุแบบพลิเนียน
ภูเขาไฟปะทุแบบวอลเคเนียน
ภูเขาไฟปะทุแบบสตรอมโบเลียน
ภูเขาไฟปะทุแบบฮาวายเอียน
สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟปะทุ
เกิดจากการเคลื่อนที่ของแมกมาขึ้นมาตามปล่องภูเขาไฟหรือรอยแตก
เกิดจากจุดร้อนนอกรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก
ภัยต่างๆที่เกิดจากการปะทุของภูเขาไฟที่รุนแรง
ภัยจากแก๊สที่ปะทุออกมา
ภัยจากฟราที่ปะทุขึ้นไปในอากาศ
ภัยจากลาวาหลาก
ภัยจากลาฮาร์
ภัยจากแผ่นดินถล่ม
การกระจายของภูเขาไฟมีพลังของโลก
เหตุการณ์ภูเขาไฟปะทุที่รุนแรง
1.3 สึนามิ
นิยามของสึนามิ
สาเหตุของการเกิดสึนามิ
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดสึนามิของโลก
ภัยต่างๆ ที่เกิดจากสึนามิที่รุนแรง
เกิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวิตจากคลื่น
สิ่งปลูกสร้างและทรัพย์สินเสียหายจากการทำลายของคลื่อน
สิ่งแวดล้อมชายฝั่งเสียหายจากคลื่นทำลาย
ก่อให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่เกิด
เหตุการณ์สุนามิที่รุนแรง
1.4 อุทกภัย
ประเภทของอุทภัย
น้ำป่าไหลหลากหรือน้ำท่วมฉับพลัน
น้ำล้นตลิ่ง
สาเหตุการเกิดอุทกภัย
เกิดจากธรรมชาติ
1.1 ฝนตกหนักจากพายุหมุนเขตร้อน
1.2 ฝนตกหนักจากพายุฝนฟ้าคะนอง
1.3 หิมะละลาย
เกิดจากการกระทำของมนุษย์
2.1 เขื่อนพังหรืออ่างเก็บน้ำพัง
2.2 การตัดไม้ทำลายป่า
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยของโลก
ภัยต่างๆ จากอุทกภัยที่รุนแรง
เกิดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากน้ำท่วมฉับพลัน
เกิดความเสียหายต่อทรัพย์สิน บ้านเรือน และสาธารณูปโภคต่างๆ
พื้นที่เกษตรกรรมหรือพื้นที่เมืองได้รับความเสียหาย
เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในระดับท้องถิ่นจากอุทกภัย
เกิดความเสียหายต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เหตุการณ์อุทภัยที่รุนแรง
1.5 วาตภัย
ประเภทและสาเหตุของวาตภัย
พายุฝนฟ้าคะนอง
พายุหมุนเขตร้อน
พายุทอร์นาโด
ภัยต่างๆจากวาตภัย
ภัยที่เกิดจากพายุฝนฟ้าคะนอง
ภัยที่เกิดจากพายุหมุนเขตร้อน
ภัยจากพายุทอร์นาโด
เหตุการณ์วาตภัยที่รุนแรง
1.6 ภัยแล้ง
ประเภทของภัยแล้ง
ภัยแล้งทางอุตุนิยมวิทยา
ภัยแล้งทางเกษตรกรรม
ภัยแล้งทางอุทกวิทยา
สาเหตุของการเกิดภัยแล้ง
การผันผวนของสภาพกาลอากาศ
ความผิดปกติของตำแหน่งร่องมรสุมหรือพายุ
ขาดแหล่งกักเก็บน้ำ
จำนวนประชากรเพิ่มมากขึ้น
การทำลายป่าต้นน้ำลำธาร
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยแล้งของโลก
ภัยต่างๆจากภัยแล้งที่รุนแรง
เหตุการณ์ภัยแล้งที่รุนแรง
1.7 แผ่นดินถล่ม
กระบวนการเกิดแผ่นดินถล่ม
ประเภทของแป่นดินถล่ม
การไหลลงของดิน
การเลื่อนไถล
ดินไหล
โคลนไหล
หินพัง
สาเหตุการเกิดแผ่นดินถล่ม
สาเหตุจากธรรมชาติ
สาเหตุจกมนุษย์
พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดดินถล่มของโลก
ภัยต่างๆจากแผ่นดินถล่มที่รุนแรง
เหตุการณ์แผ่นดินถล่มที่รุนแรง
1.8 ไฟป่า
สาเหตการเกิดไฟป่า
ไฟป่าที่เกิดจากธรรมชาติ
1.1 ฟ้าผ่า
1.2 กิ่งไม้เสียดสีกัน
ไฟป่าที่มีสาเหตุจากมนุษย์
ชนิดของไฟป่า
ไฟใต้ดิน
ไฟผิวดิน
ไฟเรือนยอด
ภัยต่างๆที่เกิดจากไฟป่า
เกิดปัญหาหมอกควัน
พื้นที่ป่าไม้และสัตว์ป่าถูกเผาไหม้ทำลาย
ทำให้ดินเสื่อมสภาพ
เหตุการณ์ไฟป่าที่รุนแรง
การจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ
วัฏจักรการจัดการภัยพิบัติ
การป้องกัน
การบรรเทาผลกระทบ
การเตรียมพร้อม
การรับสถานการณ์ฉุกเฉิน
การฟื้นฟูบูรณะ
การพัฒนา
กระบวนการจัดการภัยพิบัติ
ก่อนเกิดภัยพิบัติ
ขณะเกิดภัยพิบัติ
หลังเกิดภัยพิบัติ
2.1 การจัดการภัยจากแผ่นดินไหว
ในฐานะหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เจ้าของบ้านหรือหัวหน้าครอบครัว
2.2 การจัดการภัยจากภูเขาไฟปะทุ
2.3 การจัดการภัยจากสึนามิ
2.4 การจัดการภัยจากอุทกภัย
2.5 การจัดการภัยจากวาตภัย
2.6 การจัดการภุยจากภัยแล้ง
2.7 การจัดการภัยจากแผ่นดินถล่ม
2.8 การจัดการภัยจากไฟป่า
นางสาวสิริปืยา ศรีผักแว่น ม.5/6 เลขที่ 18