Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบภูมิคุ้มกัน - Coggle Diagram
ระบบภูมิคุ้มกัน
อวัยวะ
ไขกระดูก
ต่อมไทมัส
ต่อมน้ำเหลือง
ม้าม
ความหมาย
กลไกการทำลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
ลักษณะการทำงาน
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ระบบภูมิคุ้มกันแบบเฉพาะเจาะจง
ด่านแรก
กายวิภาค
ผิวหนัง
หน้าที่
ขจัดจุลินทรีย์ด้วยการหลุดลอก
ควบคุมอุณหภูมิร่างกาย
กักเก็บน้ำและไขมัน / ป้องกันการสูญหายน้ำ
แอนติเจนบางตัวอาจเข้าผ่านรูขุมขน & ต่อมเหงื่อ
มี Keratin ป้องกันการติดเชื้อ
เยื่อบุ
ตา
มีเอนไซม์
ช่องปาก ช่องจมูก
สารที่เมือกเหนียว
ท่อปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์
กรดอ่อน
ทางเดินหายใจ
เยื่อเมือก + Cilia
ระบบย่อยอาหาร
มีกรดเกลือ
ส่วนที่มีเยื่อเมือกจับจุลินทรีย์ด้วยการหุ้มเคลือบ
ประกอบกับการทำงานของ Cilia ที่ช่วยกวาดสิ่งแปลกปลอมออกด้วยการไอ จาม หรือขับออกในรูปของเสมหะ
โดยสารเคมีในร่างกาย
การปัสสาวะ
มีกรดอ่อนๆ
ต่อมเหงื่อ
เหงื่อมีกรดแลคติก, กรดคาโปอิก, กรดคาร์ไพลิก
pH ประมาณ 3-5
ต่อมน้ำตา
มีเอนไซม์ไลโซไซม์ทำลายผนังเซลล์ของแบคทีเรีย
ช่องปาก
น้ำลายมีความเป็นด่างยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์
และยังมีไลโซโซม์ ทำลายจุลินทรย์บางชนิด
อวัยวะเพศ
ช่องคลอดของเพศหญิงจะมีสภาพเป็นกรด
ในน้ำอสุจิมีสเปอร์ไมน์ยับยั้งแบคทีเรีย
ระบบย่อยอาหาร
มีกรดเกลือย่อยสลายสารกลุ่มลิโพโปรตีนได้
ซึ่งเป็นส่วนประกอบสำคัญของเชื่อจุลินทรย์
ด่านสอง
อักเสบมีหนอง
ซากเซลล์เม็ดเลือดขาวและเชื้อโรคที่ขจัดออกมา
กำจัดสิ่งแปลกปลอมที่เข้าสู่เนื้อเยื่อแล้ว
การมีไข้
สภาวะที่ร่างกายกำลังต่อสู้กับเชื้อโรคนั้นๆ (ร่างกายกำลังติดเชื้อ)
ยา
ปฏิชีวนะ - ฆ่าเชื่อแบคมีเรีย
แก้อักเสบ - ลดอาการอักเสบ แก้ปวด ลดไข้
NK Cell
มีหน้าที่ทำลายเซลล์เนื้องอก เซลล์ติดเชื้อ
มีความสามารถฆ่าและทำลายสิ่งแปลกปลอมได้ดี
ปล่อยสารสื่อโปรตีนให้เซลล์ในระบบภูมิคุ้มกัน ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ทำหน้าที่เป็นเซลล์นักฆ่า มีประสิทธิภาพสูงในการทำลายเซลล์ติดเชื้อ รวมถึงเซลล์มะเร็ง
สามารถกำจัดได้ระดับหนึ่ง ไม่สูงเปลี่ยนแปลงตามอายุ พันธุกรรม ฮอร์โมน ภาวะโภชนาการของแต่ละบุคคล
ระบบภูมิคุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจง