Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินปัสสาวะและความไม่สมดุลของสารน้ำและเกลือแร่ - Coggle Diagram
ระบบทางเดินปัสสาวะและความไม่สมดุลของสารน้ำและเกลือแร่
UTI (Urinary Tract Infection)
การติดเชื้อส่วนบน Upper UTI
จะเป็นการติดเชื้อที่อวัยวะไต (Kidney infection) เรียกว่า
Pyelonephritis (กรวยไตอักเสบ)
กรวยไตอักเสบ (Pyelonephritis)
สาเหตุ
เป็นการอักเสบต่อเนื่องจากกระเพาะปัสสาวะอักเสบ จาการติดเชื้อของกระดูกหรือผิวหนังหรือเนื้อเยื่อต่างๆ แล้วเชื้อได้แพร่กระจายทางกระแสโลหิต(เลือด)มายังกรวยไต
อาการ
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดท้องน้อย ปัสสาวะขัดบ่อย กะปริบกะปรอย บางรายมีเลือดปน ปัสสาวะขุ่น มีกลิ่นแรงผิดปกติ อาจพบปัสสาวะเป็นหนอง
ปวดหลัง/เอว
ในรายที่มีอาการรุนแรง เช่น มีไข้สูง คลื่นไส้ อาเจียน อาจต้องรับไว้ในโรงพยาบาลเพื่อเฝ้าระวังอาการแทรกซ้อน ให้ยาปฏิชีวนะและสารน้ำทาง
หลอดเลือดดํา
การดูแลและการให้คำแนะนำ
ป้องกันการทําลายและส่งเสริมหน่วยไตให้ทํางานได้ปกติเร็วที่สุด โดยขจัดการติดเชื้อ การควบคุมเชื้อ
ดูแลสมดุลของสารน้ำและเกลือแร่
การป้องกันการกลับเป็นซ้ำ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชม.
ดูแลให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา และต่อเนื่องจนครบ
กระตุ้นให้ดื่มน้ําวันละ 2,000-3,000 ซี.ซี. ถ้าไม่ขัดต่อการรักษาโรคอื่นๆ ให้สารน้ําตามแผนการรักษา
ประเมินปริมาณปัสสาวะ ลักษณะ และอาการผิดปกติเมื่อปัสสาวะ
ทําการเก็บปัสสาวะส่งตรวจประเมินทั่วไป (urine examination) และเพาะเชื้อ (urine culture)อย่างถูกเทคนิคทั้งก่อนและหลังได้รับยาปฏิชีวนะ และติดตามผลการตรวจ
การติดเชื้อส่วนล่าง Lower UTI
จะเป็นการติดเชื้อที่กระเพาะปัสสาวะ (bladder infection) เรียกว่าCystitis (กระเพาะปัสสาวะอักเสบ)
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ (Cystitis)
สาเหตุ
พฤติกรรมการกลั้นปัสสาวะนานๆ
เพศหญิงมีท่อปัสสาวะสั้นและรูเปิดอยู่ใกล้กับช่องคลอดและทวารหนัก
ในหญิงที่มีการเช็ดทําความสะอาดที่ไม่เหมาะสม
ในชายมีต่อมลูกมากขนาดใหญ่ หรือภาวะต่อมลูกหมากโต (Benign Prostate Hyperplasia-BPH)
เป็นนิ่วบริเวรกรวยไต หรือการอุตกลั้นทางเดินปัสสาวะ
สาเหตุ(ในผู้สูงอายุ)
ผู้สูงอายุที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้จะมีปัญหาในการถ่ายปัสสาวะมักเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะ แบคทีเรียในปัสสาวะจึงเจริญเติบโตได้ดี
ผู้สูงอายุที่มีภาวะที่กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ หรือ ปัสสาวะแต่ละครั้งไม่หมด จึงมีปัสสาวะค้างในกระเพาะปัสสาวะเสมอ แบคทีเรียในปัสสาวะจึงเจริญเติบโตได้ดี
ความอ่อนแอของตัวผู้สูงอายุ เช่น ภาวะขาดสารอาหาร เบาหวาน
อาการแสดง
ปัสสาวะบ่อย ครั้งละน้อยๆ ปวดขัดหรือปวดแสบเวลาถ่ายปัสสาวะ
ปวดหัวเหน่า ปวดท้องน้อย
ปัสสาวะลักษณะขุ่น มีกลิ่นเหม็น อาจมีลักษณะเป็นเลือด
อาจมีไข้หรือไม่มีไข้
โรคกระเพาะปัสสาวะอักเสบเป็นโรคที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง หากยังมีการกลั้นปัสสาวะ นานๆอีกจะเป็นๆหายๆเรื้อรัง หากไม่รีบรักษาจะกลายเป็น Pyelonephritis ไตเสียหน้าที่การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
UA พบ เม็ดเลือดขาว ส่งเพาะเชื้อพบเชื้อมากกว่า 105 CFU/ml อาจต้องทํา Plain KUB
การดูแลและการให้คำแนะนำ
ดูแลให้ Antibiotics: Ciprofloxacin etc. รับประทานให้ครบตามแผนการรักษา
ดื่มน้ำมากๆ ให้ดื่มน้ำวันละ 2,000 - 3,000 ซี.ซี. เพื่อช่วยขับเชื้อแบคทีเรียหากไม่ขัดต่อโรค เช่น โรคไต โรคหัวใจ
เปลี่ยนผ้าอ้อมทุกครั้งเมื่อมีการขับถ่าย ให้ทำความสะอาดเช็ดจากหน้าไปหลัง
อย่ากลั้นปัสสาวะ/หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะ
ดูแลรักษาบริเวณอวัยวะสืบพันธ์
โรคต่อมลูกหมากโต Benign Prostatic hyperplasia :BPH
เมื่อมีอายุมากขึ้น จะมีการเปลี่ยนแปลงตางธรรมชาติ คือจะโตขึ้นมีขนาดใหญ่ขึ้น พบในชายอายุ50ปีขึ้นไป
เป็นความผิดปกติที่มีการเจริญทั้งขนาดและจำนวนของเซลล์ต่อมลูกหมากมากกว่าปกติทำให้ขนาดของต่อมลูกหมากมีขนาดโตขึ้นและตำแหน่งของต่อมลูกหมากอยู่รอบๆ ท่อปัสสาวะจะมีการบีบรัดท่อให้ตีบ แบน ทำให้เกิดการอุดกลั้นบริเวณท่อทางเดินปัสสาวะเป็นผลให้ปัสสาวะไหลไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
อาการความลําบากของการถ่ายปัสสาวะ
ต้องเบ่ง (straining)
ปัสสาวะลําเล็กลงและไม่พุ่ง (poor stream)
ต้องรอกว่าปัสสาวะจะออก (hesitancy)
ใช้เวลาในการถ่ายปัสสาวะนาน (prolonged voiding time)
ปัสสาวะเป็นช่วงๆ (interrupted stream)
รู้สึกว่าถ่ายปัสสาวะไม่หมด (sense of residual urine)
ป่สสาวะไม่ออก (retention)
ภาวะแทรกซ้อน
มีการคั่งค้างของน้ำปัสสาวะเนื่องจากปัสสาวะไม่หมด
เกิดการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ เนื่องจากมีปัสสาวะค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
อาจจะมีนิ่วเกิดขึ้นในกระเพาะปัสสาวะได้
เกิดการเสื่อมของไตได้ มีภาวะท่อไตและไตบวม
การรักษาโรคต่อมลูกหมาก
การรักษาโดยการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนการใช้ชีวิต(Watchful waiting and lifestyle modification)
การรักษาโดยการใช้ยา (Medical therapy)
การรักษาโดยการผ่าตัด (Surgical therapy)
คําแนะนําในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ําชา กาแฟ
หลีกเลี่ยงการกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน ๆ เมื่อปวดแล้วก็ควรไปถ่ายปัสสาวะ
โรคไตวาย (Kidney Failure หรือ Renal Failure)
ภาวะที่ไตสูญเสียความสามารถในการกรองของเสียออกจากเลือด จนไม่สามารถขับของเสียออกมาจากร่างกายผ่านทางปัสสาวะได้ ทำให้มีของเสียตกค้างในร่างกาย ทำให้ระดับน้ำเกลือแร่และแร่ธาตุต่างๆในร่างกายเกิดความสมดุล หากไม่ได้รักการรักษายังทันท่วงที จะทำให้ระบบการทำงานภายในร่างกายเกิดความผิดปกติและเป็นอันตรายแก่ชีวิต
ประเภท
ไตวายเฉียบพลัน (Acute Kidney failure หรือ Acute Renal Failure) เกิดขึ้นได้อย่างทันทีทันใด
ไตวายเรื้อรัง (Chronic Kidney Failure หรือ Chronic Renal Failure) อาการของไตวายเรื้อรังจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกันในคราวเดียว แต่จะค่อยๆแสดงอาการออกมาเป็นระยะแต่ว่าเรื้อรังจะถูกแบ่งออกเป็น 5 ระยะตามระดับค่าประเมินการทำงานของไต
ระยะของโรคไตเรื้อรัง
ระยะที่ 1 ไตเริ่มเสื่อม เริ่มมีโปรตีนรั่วในปัสสาวะสังเกตจากสีขุ่นเป็นฟองตรวจพบเลือดจางมีอาการปวดเอวบ้างอ่อนแรงผิวแห้งคันตามตัว
ระยะที่ 2 แต่เรื่องถูกทำลายอัตราการกรองของเสียลดลง เท้าและข้อเท้าบวมตาบวมน้ำโดยเฉพาะในตอนเช้าปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะตอนกลางคืนปัสสาวะขุ่นมีกลิ่นเป็นฟอง
ระยะที่ 3 อัตราการกรองของเสียลดลงปานกลาง มีอาการคันร่วมการบวมเริ่มไม่ยุบปัสสาวะขัดเป็นฟอง
ระยะที่ 4 แต่เรื่องวายอัตราการกรองของเสียลดลงมากมีอาการเหนื่อยไม่อยากทานอาหารอาการแบบในระยะ 3 แต่รุนแรงขึ้นกว่าเดิม
ระยะที่ 5 ไตวายระยะสุดท้าย เหนื่อยคันน้ำท่วมปอดได้ง่ายบวมต่อเนื่องอาการรุนแรงมากขึ้นหมอจะแนะนำให้ฟอกไต
สาเหตุ
การสูญเสียเลือดหรือน้ำในร่างกายมากเกินไป
ความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน
การติดเชื้อในกระแสเลือด
ได้รับสารพิษ
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะ นิ่วที่ไต ต่อมลูกหมากโต การติดเชื้อ
การรักษาโรคไตวายระยะสุดท้าย
การฟอกไต การฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม การฟอกไตทางช่องท้อง การผ่าตัดปลูกถ่ายไต
การดูแล
จำกัดปริมาณน้ำ
จำกัดอาหารที่มีโซเดียมสูง
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออกปริมาณปัสสาวะ
ชั่งน้ำหนักทุกวันเวลาเดียวกัน
สังเกตอาการหายใจเหนื่อยหอบมีอาการบวม
หลีดเรื่องอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
ภาวะเสียสมดุลสารน้ำและเกลือแร่
ภาวะขาดน้ำ
สาเหตุ
การได้รับสารน้ำไม่เพียงพอ ผู้ป่วยอัมพาต pno ระยะเวลานาน
การขับสารน้ำทิ้งมากเกินไป ทางไตได้รับยาขับปัสสาวะภาวะเบาจืด ทางระบบทางเดินอาหารอาเจียนมากท้องเสียรุนแรง ทางผิวหนังเสียเหงื่อมากคนไข้แผลไฟไหม้
อาการและอาการแสดง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด หัวใจเต้นเร็วขึ้นชีพจรเบาความดันโลหิตต่ำลงเส้นเลือดที่คอและที่มือแฟบ
ระบบหายใจ อัตราการหายใจเร็วขึ้น
ระบบประสาท ปวดศีรษะความรู้สึกตัวเปลี่ยนสับสนไข้ต่ำ
ไต ความถ่วงจำนวนเฉพาะของปัสสาวะสูง ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม
ผิวหนัง เยื่อบุปากลิ้นแห้งและแตก ความยืดหยุ่นลดลง
การดูแล
ประเมินภาวะขาดน้ำและระดับความรุนแรงผิวหนังแห้งปัสสาวะน้อยซึมเป็นต้น
ค้นหาสาเหตุเพื่อให้การรักษาตามสาเหตุ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำ ทางปากสายยางให้อาหารทางเส้นเลือดตามระดับการขาดน้ำ
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
บันทึกปริมาณสารน้ำเข้าออก ปริมาณและลักษณะของน้ำปัสสาวะ
ดูแลให้ช่องปากชุ่มชื้นเพื่อลดการเกิดแผล
พลิกตัวผู้ป่วยยังน้อยทุก 2 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
ติดตามผลการตรวจ
ภาวะน้ำเกิน
สาเหตุ
ได้รับมากเกินหรือขับออกน้อย
การได้รับสารน้ำมากเกินไป
การดื่มน้ำผิดปกติซึ่งมีสาเหตุทางจิตเวช
การสวนน้ำเข้าทางทวารหนักจำนวนมากๆ
ไตวาย
หัวใจล้มเหลว
การดูแล
สังเกตลักษณะบวม ชั่งน้ำหนักทุกวันและติดตามค่าน้ำหนักที่เป็นแปลง
ประเมินสัญญาณชีพประเมินลักษณะการหายใจ
ดูแลจำกัดน้ำดื่มและการให้สารน้ำตามแผนการรักษา
จำกัดอาหารรสเค็ม
ประเมินปริมาณน้ำเข้าออกและปริมาณปัสสาวะ
ดูแลให้ยาขับปัสสาวะตามแผนการรักษา
ติดตามผล chest x-ray
พริกตะแคงตัวอย่างน้อยทุก 2 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ
อาการและอาการแสดง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ชีพจรเร็วขึ้นทำชีพจรได้แรง ความดันโลหิตสูงขึ้น เส้นเลือดที่คอโป่ง น้ำหนักเพิ่ม
ระบบหายใจ อัตราการหายใจเร็วขึ้น หายใจลำบากโดยเฉพาะเวลานอนราบ
ระบบประสาท ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลงปวดศีรษะ
ผิวหนัง บวมกดบุ๋ม
โซเดียม
ภาวะโซเดียมต่ำ (hyponnatremia)
งดน้ำงดอาหารทางปากเป็นเวลานาน
รับประทานอาหารไม่เพียงพอมีภาวะขาดสารอาหาร
เสียเหงื่อมากได้รับยาขับปัสสาวะ
สูญเสียระบบทางเดินอาหาร
สารขัดหลังจากแผล
โซเดียมต่ำจากน้ำเกิน
อาการและอาการแสดง
ซึมเฉยชา
อ่อนเพลียกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
ความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า ชีพจรเบาเร็ว
การดูแล
ประเมินระดับความรู้สึก
ประเมินสัญญาณชีพประเมิน io
กรณีที่มี na ในเลือดต่ำจริง
ดูแลให้ได้รับ na ทดแทนทั้งทางปากและทางหลอดเลือดดำ
กรณีที่มี na ต่ำจากภาวะน้ำเกิน
ให้จำกัดน้ำดื่มและดูแลให้ได้รับยาขับปัสสาวะ
ภาวะโซเดียมสูง (Hypernatremia)
รับประทานโซเดียมมาก
ได้รับสารน้ำที่มีโซเดียมมาก
ไตวาย
โซเดียมสูงจากภาวะขาดน้ำ
อาการและอาการแสดง
ความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง สับสน ชัก
กระหายน้ำ
กล้ามเนื้อกระตุกอ่อนแรง
การดูแล
ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและระดับความรู้สึกชักสับสน
กรณีมีเลือดกล้องโซเดียมสูงจริง ให้จำกัดการบริโภคเกลือดูแลให้ขับถ่ายรับยาขับปัสสาวะ
กรณีโซเดียมสูงจากขาดน้ำ ดูแลให้สารน้ำทดแทนทางปากหรือทางหลอดเลือดดำ
ประเมินสมดุลของสารน้ำทุกเวร
โพแทสเซียม
ภาวะโพแทสเซียมต่ำ (Hypokalemia)
ได้รับไม่เพียงพอ(Inadequate intake)
รับประทานไม่เพียงพอ
การดูดซึมผิดปกติ
ขับออกมาก/เสียมาก(Excessive loss)
ยาขับปัสสาวะ (Diuretics)
คลืbนไส้ อาเจียน ท้องเสีย
สูญเสียทางสารคัดหลั่งจากแผล
อาการและอาการแสดง
ชีพจรเร็ว หัวใจเต้นผิดจังหวะ BP ต่ำ
กล้ามเนื้อหายใจอ่อนแรง หายใจเร็วหายใจแบบ air hunger หรือหยุดหายใจ
ลำไส้เคลื่อนไหวลดลง
กล้อมเนื้ออ่อนแรง ตะคริง
เฉื่อยชา ซึม ง่วงนอน
การดูแล
ประเมินอาการของ hypokalemia
ประเมินสัญญาณชีพ 2-4 ชั่วโมง HR,RR,O2SAT
จัดอาหารที่มีเขตสูงให้รับประทาน
ประเมินปริมาณน้ำเข้าออก
ติดตามผลเลือด ekg
ภาวะโพแทสเซียมสูง(Hyperkalemia)
ได้รับมากเกินไป
รับประทานอาหารที่มีKมาก
ได้รับเลือดจำนวนมาก (PRC)
ได้รับยาที่มีส่วนประกอบ K มากเกินไป/เร็วเกินไป
ขับออกน้อย/ขับออกไม่ได้
ไตวาย
อาการและอาการแสดง
ชีพจรเต้นช้าหัวใจเต้นผิดจังหวะ BP ต่ำ
ลำไส้เคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
ช่วงแรกกล้ามเนื้อกระตุ้นต่อมากล้ามเนื้ออ่อนแรงหรือเป็นอัมพาต
อาจไม่รู้สึกตัว สับสน ไม่รู้สติ
การดูแล
บันทึกสัญญาณชีพทุก 2-4 ชั่วโมง ประเมินลักษณะ ekg
บันทึกปริมาณน้ำเข้าออก (i/o)
ประเมินอาการแสดงทีPอาจบ่งถึงภาวะ Hyperkalemia
ปัสสาวะน้อยอาจพบ hyperkalemia
หลีกเลี่ยงอาหารที่มี K สูง
การดูแลส่งเสริมรถ k ในเลือด
โดยส่งเสริมให้มีปัสสาวะมากขึ้นดูแลให้ยาขับถ่ายปัสสาวะ