Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 64 ปี - Coggle Diagram
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 64 ปี
เกิดอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์พ่วงข้างชนกับรถจักรยานยนต์
ถูกนำส่งตัวเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลพระนารายณ์
Primunry survery
การรักษาที่โรงพยาบาลพระนารายณ์
On ET-tube on.8 mark 22
On philadelphin collar
ให้ NSS 2,000 ml needle size 18-20 gauge x 2 line
Blood for CBCBUN Cr E'lyte LFT PT PTT INR Anti HIV
DTX 176 mg%
Activate PRC Uncross math 2 Unit
G/M จอง PRC 4 unit FFP 4 unit platelet 4 unit
On NG
On foley cath
12 lead EKG
CXR
Pelvis
Fast
Notify staff Sx
CT Brain incude C-spine
Admit ICU Neuro
แพทย์วินิจฉัย
Mild head injury moderate risk
C-spine FX.with spondylodiscitis
Open wound gr 3 Rt.femer
อาการทาง Neuro sign ไม่มีความผิดปกติ
อาการดีขึ้น ย้ายไป ศัลยกรรมชาย (6 พ.ย. 65)
ย้ายมาที่ ICU Neuro (14 พ.ย. 65 )
แพทย์วินิจฉัย เพิ่ม
Tachycardia
Pneumonia with sepsis
มีการบาดเจ็บที่ศีรษะเล็กน้อย และมีปัจจัยเสี่บงปานกลาง Dx. Mild head injury moderate risk
กรณีศึกษา การบาดเจ็บที่เกิดขึ้น ขณะที่ศีรษะมีความเร็วไปกระทบกัยวัตถุอื่นที่กำลังเคลื่อนที่ เช่น ขับรถชนต้นไม้ หรือขับรถชนกับรถที่วิ่งสวนมา
1.static mechanism เป็นกลไกการบาดเจ็บที่มี แรงกระทำกับศีรษะเป็นเวลานาน ซึ่งพยาธิสภาพที่ เกิดขึ้นมักทำให้เกิดกะโหลกศีรษะแตกหรือฐานกะโหลกศีรษะแตกได้
2.Dynamic mechanism เป็นกลไกการบาดเจ็บที่ พบมาก โดยแรงที่มากระทำกับศีรษะใช้เวลาสั้น
2.1 Contact force คือการบาดเจ็บที่เกิดกับศีรษะขณะอยู่นิ่งหรือเคลื่อนไหวเล็กน้อยเช่น ถูกตี ถูกยิง เป็นต้น กะโหลกศีรษะจะมีการยุบตัวและคืนตัวอย่างรวดเร็ว
2.2 Inertial force คือ การบาดเจ็บที่เกิดขึ้น ขณะที่ศีรษะมีความเร็วไปกระทบกัยวัตถุอื่นที่กำลังเคลื่อนที่ เช่นขับรถชนต้นไม้ หรือขับรถชนกับรถที่วิ่งสวนมา
รถจักรยานยนต์พ่วงข้างชนกับรถยนต์ คนไข้มีบาดแผลที่ศีรษะเล็กน้อย มีแผลเปิด ระดับ 3 ที่กระดูกต้นขาข้างขวา
2 more items...
ผู้ป่วยมีประวัติ ดื่มสุรามาเป็นเวลานาน
เกิดขึ้นเมื่อผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ปริมาณมากเป็นประจำ
หยุดดื่มแอลกอฮอล์หรือลดปริมาณการดื่มลงอย่างฉับพลัน
ผู้ป่วยมีประวัติการนอนโรงพยาบาล ตั้งแต่วันที่ 5 พ.ย. 65
alcohol withdrawal syndrome
ชีพจร 119 ครั้ง/นาที อัตราการหายใจ 28 ครั้ง/นาที
Tachycardia
ผู้ป่วย On ET-Tube ตั้งแต่วันที่ 5 พ.ย. 65
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ป่วยที่ มีจำนวนวันใส่ท่อช่วยหายใจเฉลี่ยนานเกิน 14 วัน เกิดภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ มากกว่าผู้ป่วยที่ใส่ท่อช่วยหายใจไม่เกิน 14 วัน และมีจำนวนวันนอนไอซียูมากกว่า 15 วัน
Pneumonia with sepsis
โรคปอดบวมที่เกิดจากเชื้อไวรัสมักเกิดภายหลังการติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน
พยาธิสรีรภาพมักเป็นชนิด Interstitial pneumonia ลักษณะการอักเสบเป็นแบบ Patchy infiltration ทั่วทั้งกลีบปอดอาจกระจายไปปอดข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองมีการทำลายเยื่อบุทางเดินหายใจ
1 more item...