Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G3P2P0A0L2 wiht Near Postterm, ประเมิน Bishop score = 4 คะแนน - Coggle…
G3P2P0A0L2 wiht Near Postterm
CC: ส่งต่อจาก ANC ด้วย Near Postterm ไม่มีอาการเจ็บครรภ์
ประวัติการตั้งครรภ์ปัจจุบัน LMP วันที่ 18 มกราคม 2565 EDC วันที่ 25 ตุลาคม 2565 by U/S
ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอดในอดีต
ตั้งครรภ์ที่ 1 เมื่อปี 2548 คลอดเองทางช่องคลอดที่บ้าน ทารกเพศชาย จำน้ำหนักไม่ได้ ปัจจุบันอายุ 17 ปี
ตั้งครรภ์ที่ 2 เมื่อปี 2558 คลอดเองทางช่องคลอดที่โรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ ทารกเพศหญิง น้ำหนัก 3,500 กรัม ปัจจุบันอายุ 7 ปี)
Near postterm
ปัญหาด้านการเจริญเติบโตของทารก (Fetal growth restriction)
ทารกที่อยู่ในครรภ์นานอาจเจริญเติบโตขึ้นเรื่อยๆ
คลอดยาก คลอดติดขัดได้
เพิ่มหัตถการทางสูติศาสตร์ ซึ่งเพิ่มอันตรายต่อมารดาและทารก
เมื่อทารกอยู่ในครรภ์นานอาจเกิดการชะงักการเติบโตได้เนื่องจากรกเสื่อมสภาพ
ทารกกลุ่มทารกกลุ่มนี้จะมีการลอกหลุดของไขมันเคลือบผิวทารก (vernix caseosa)
ทารกจะมีผิวเหี่ยวย่น หลุดลอก ผมและเล็บจะงอกยาวขึ้นเรื่อยๆ
ทารกมีผิวหลุดลอก
ปัญหาจากรกเสื่อมสภาพ (Placental dysfunction)
เมื่ออายุครรภ์เกินกำหนดประสิทธิภาพการทำงานของงรกจะลดลง
ส่งผลให้เนื้อเยื่อของรกขาดเลือดไปเลี้ยง เกิดการตายของเนื้อรกบางส่วน
ทารกในครรภ์จะได้รับอาหารและออกซิเจนลดลง
ปัญหาจากน้ำคร่ำน้อย (Ollgohydramnios)
เมื่ออายุครรภ์เกินกำหนดน้ำคร่ำจะลดลงเรื่อยๆ และทารกมีขนาดโตขึ้น
จึงมีโอกาสเกิดสายสะดือถูกการกดทับง่าย
เกิดภาวะขาดออกซิเจนอย่างเฉียบพลันในทารก (acute fetal distress)
Fetal distress
การเปลี่ยนแปลงของสายสะดือ
เมื่ออายุครรภ์เกินกำหนดอาจพบขี้ อาจพบขี้เทาในน้ำคร่ำทำให้สายสะดือมีสีเหลืองหรือสีเขียวจะขี้เทา
บางรายคุณภาพของสายสะดือเสีย
จึงมีโอกาสเกิดสายสะดือถูกการกดทับง่าย
ปัญหาอื่นๆ
ด้านมารดา
เพิ่มอัตราการเร่งคลอด การผ่าตัดคลอดอย่างมีนัยสำคัญ
หญิงตั้งครรภ์ cesarean section
ด้านทารก
น้ำตาลในเลือดต่ำ(hypoglycemia)
อุณหภูมิกายต่ำ (hypothermia)
ภาวะขาดน้ำ (hypovolemia)
ภาวะเลือดเป็นกรด (metabolic acidosis)
แนวทางการรักษา
การชักนำการคลอดหรือการเร่งคลอด (Induction of Labor)
การชักนำการคลอดโดยหัตถการ (Surgical Induction of labor)
การเลาะถุงน้ำคร่ำ (Stripping of the Membranes)
การเจาะถุงน้ำคร่ำจะทำให้มีการหลั่งสารในกลุ่ม Prostaglandins ออกมามาก
ซึ่งมีฤทธิ์กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ส่งผลให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด
ซึ่ง Prostaglandins ตัวสำคัญที่ทำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอด คือ PGE2 และ PGE2α นอกจากนี้ยังมีสารกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตัวอื่น เช่น Platelet-Activating Factor ที่สร้างมาจากdecidua และamnion
การเจาะถุงน้ำคร่ำ (Amniotomy, artificial rupture of the membrane)
กลไกวิธีนี้จะชักนำการทำงานของ Phospholipase A2
ร่วมกับมีการหลั่งสารในกลุ่ม Prostaglandins ออกมา
ทำให้ปากมดลูกมีการเปลี่ยนแปลงและเริ่มเข้าสู่กระบวนการเจ็บครรภ์
วิธีการชักนำให้เจ็บครรภ์โดยใช้เครื่องมือ (Mechanical induction of labor)
การใช้ Hygroscopic cervical dilator หรือ Osmotic
อาศัยวัสดุที่เมื่อสัมผัสกับน้ำจะดูดซึมน้ำ จนกระทั่งพองตัวและถ่างขยายปากมดลูกให้เปิดออก
การใช้ Transcervical catheter หรือ Intrauterine Extraamniotic Foley Catheter
การใช้ Transcervical catheter หรือ Intrauterine Extraamniotic Foley Catheter
การชักนำการคลอดโดยการใช้ยา (Medical induction of labor)
ยา Prostaglandin E1
มีประสิทธิภาพในการชักนำปากมดลูกและมีใช้อยู่ในปัจจุบัน
Misoprostol หรือ Cytotec
ออกฤทธิ์ทำให้มดลูกบีบรัดตัว
ทำให้ปากมดลูกเปิดขยาย
ได้รับ Misoprostol (Xm) 200 mcg. เม็ด 1/8 tab เหน็บทางช่องคลอด เวลา 7:30 น.
เวลา 8:30 น. มีอาการปวดท้อง มี uterine contraction I= 2’ D= 50”
3 more items...
ยา Prostaglandin E2
ออกฤทธิ์ในการชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์โดยทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
Extracellular ground substance ของ Collagen fiber ในปากมดลูก
ยาจะชักนำการทำงานของเอนไซม์ Collagenase รวมถึง Elastase , Glycosaminoglycan, Dermatan sulfate และ Hyaluronic acid ในปากมดลูก
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบในปากมดลูกมีการคลายตัวทำให้ปากมดลูกเปิดได้
รวมถึงทำให้ระดับแคลเซียมในเซลล์สูงขึ้นส่งผลให้กล้ามเนื้อมดลูกมีการหดตัวซึ่งมีความสำคัญที่จะทำให้ปากมดลูกเปิดอย่างต่อเนื่อง
ประเมิน Bishop score = 4 คะแนน
ปากมดมดลูกไม่พร้อมสำหรับชักนำคลอด (unfavorable cervix)
ทำให้ปากมดลูกมีความพร้อมก่อนที่จะเริ่มชักนำคลอด
ให้ cytotec สอดไปที่ posterior fornix จนกระทั่งได้การหดรัดตัวที่เหมาะสมหรือปากมดลูกพร้อมสำหรับการชักนำคลอดด้วยวิธีอื่นต่อไป