Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสาร เพื่อการส่งเสริมและพ…
หน่วยที่ 8
แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสาร
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะของความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะของบุคคล
ลักษณะทางผลิตผล
ลักษณะทางกระบวนการ
ประเภทของความคิด
แบ่งตามความคิดโดยอาศัยสิ่งเร้า
การคิดแบบโยงความสัมพันธ์
การคิดแบบวิเคราะห์
แบ่งตามความสนใจของนักจิตวิทยา
การคิดหาเหตุผล
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดรวบยอด
แบ่งตามขอบเขตความคิด
การคิดในระบบปิด
การคิดในระบบเปิด
แบ่งตามลักษณะทั่ว ๆ ไป
การคิดประเภทสัมพันธ์
ความคิดโดยตรงที่ใช้ในการแก้ปัญหา
ผู้ชนะสิบคิด
การคิดเชิงอนาคต
การคิดเชิงวิพากษ์
การคิดเชิงบูรณาการ
การคิดเชิงวิเคราะห์
การคิดเชิงกลยุทธ์
การคิดเชิงสังเคราะห์
การคิดเชิงประยุกต์
การคิดเชิงเปรียบเทียบ
การคิดเชิงสร้างสรรค์
การคิดเชิงมโนทัศน์
ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง การขยายขอบเขตความคิดจากกรอบเดิม เพื่อหาคำตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น
องค์ประกอบของความคิดสร้างสรรค์
ความคิดคล่องตัว
ความคิดยืดหยุ่น
ความคิดริเริ่ม
ความคิดละเอียดละออ
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะพื้นฐานของผู้ที่
มีความคิดสร้างสรรค์
ความคิดริเริ่ม
ความยืดหยุ่นในการคิด
ความคล่องในการคิด
แรงจูงใจ
ความรู้สึกไวต่อปัญหา
อุปสรรคของ
ความคิดสร้างสรรค์
อุปสรรคเชิงอารมณ์
อุปสรรคเชิงวัฒนธรรม
อุปสรรคเชิงรับรู้
ทักษะในการคิดสร้างสรรค์
คิดอย่างมีเหตุผล
คิดกว้างและรอบคอบ
คิดละเอียดชัดเจน
คิดไกล
คิดริเริ่ม
คิดลึกซึ้ง
คิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน
คิดดี ถูกทาง
คิดคล่องและหลากหลาย
องค์ประกอบในการพัฒนา
การคิดสร้างสรรค์
ฝันกลางวัน
ระลึกถึงความขัดแย้งในอดีตที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางจิตใจ
อยู่เฉย
ความเชื่ออะไรง่าย
อยู่คนเดียวตามลำพัง
ความตื่นตัวและระเบียบวินัย
กระบวนการพัฒนา
การคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการของการคิดสร้างสรรค์
ความคิดของมนุษย์
เทคนิคในการพัฒนาความคิด
ฝึกคิดในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้
ฝึกคิดบนหลักของความเป็นจริง
ฝึกคิดย้อยศร
ฝึกคิดข้ามกล่องความรู้
ฝึกคิดเชิงบวก
ฝึกคิดแบบแตกหน่อทางความคิด
การนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อการสื่อสาร
ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสื่อสารเป้าหมาย
เป้าหมาย
ลักษณะการกำหนดเป้าหมาย
การกำหนดเป้าหมายรายอาทิตย์-รายเดือน
การกำหนดเป้าหมายระยะยาว
การกำหนดเป้าหมายระยะสั้น
ข้อดีการกำหนดเป้าหมาย
เป็นส่วนที่สำคัญในการบริหารผลงานผู้ใต้บังคับบัญชา
สร้างแรงจูงใจผู้ใต้บังคับบัญชา
ผู้บริหารตรวจสอบผลงานได้อย่างชัดเจน
ผู้ใต้บังคับบัญชาและผู้บริหารสามารถแผนงานได้
สามารถจัดลำดับความสำคัญของเป้าหมาย
สามารถกำหนดนโยบายขององค์กรและนำไปใช้
เกิดแรงศรัทธาในการพัฒนางาน
เป็นตัวกำหนดทิศทางในการทำงานร่วมกัน
ท้าทายผลงาน
ช่วยเพิ่มความตั้งใจและแรงผลักดัน
ลักษณะเป้าหมายที่ดี
A-Action oriented
R-Realistic
M-Measurable
T-Timely
S-Specific
การกำหนดเป้าหมาย
โดยเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานของหน่วยงานอื่น
โดยเปรียบเทียบกับกิจการของคู่แข่ง
โดยเปรียบเทียบกับผลการดำเนินงานที่ผ่านมาของหน่วยงานตนเอง
โดยเปรียบเทียบกับกิจการรูปแบบอื่น
การสื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ความเร้าใจของเป้าหมาย
แนวทางในการบรรลุเป้าหมาย
สื่อด้วยข้อความที่เข้าใจง่าย
ลงทุนเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
ข้อความที่สื่อต้องง่ายแต่มีความหมายลึกซึ้ง
องค์ประกอบของการสื่อสาร
องค์ประกอบการสื่อสารระหว่างบุคคล
การป้อนกลับ
ผลของการสื่อสาร
การเข้ารหัสและถอดรหัส
สิ่งรบกวนหรืออุปสรรคการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสาร
กรอบประสบการณ์ร่วม
สาร
บริบททางการสื่อสาร
ผู้รับสาร
กระบวนการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
ช่องทางสื่อ
ผู้รับสาร
ลักษณะเด่น (มีจำนวนมาก,ข่าวสารมีอายุไม่ยั่งยืน,มีผู้รับสารจำนวนมากพร้อมๆกัน)
บริบททางการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
ผู้เฝ้าประตูข่าวสาร
การสร้างสรรค์สื่อ
การเลือกสื่อ
สื่อวิทยุกระจายเสียง
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อวิทยุโทรทัศน์
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อกิจกรรม
สื่อสังคม
สื่อบุคคล
การสร้างสรรค์สื่อ
การกำหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย
การเลือกและการนำเสนอสื่อ
การเตรียมเนื้อหาและข่าวสาร
ดำเนินการผลิตสื่อ
การสำรวจปัญหาและหรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
ทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมาย
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
ปรับปรุงสื่อที่พัฒนาขึ้น
เป้าหมายในการบริหารงานส่งเสริมฯ
เผยแพร่สื่อ
การใช้สื่อ
วิธีการนำสื่อไปใช้ตามลักษณะกลุ่มเป้าหมาย
ติดต่อแบบกลุ่ม
ติดต่อแบบมวลชน
ติดต่อสื่อสารส่วนบุคคล
การนำสื่อไปใช้เพื่อการเผยแพร่สารสนเทศ
ขั้นเตรียมการ
การนำเสนอสื่อ
การวางแผน
การติดตามและประเมินการสื่อสาร
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
อย่างสร้างสรรค์
ความสำคัญ
ด้านสังคมเกษตร
ทำให้เกิดนวัตกรรมทางการเกษตร
ทำให้เกษตรกรเป้าหมายเปลี่ยนแปลง
ในแนวทางการทำการเกษตรใหม่ๆ
เป็นสิ่งสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร
สังคมเกษตรกรรมมีความก้าวหน้า ทันสมัย มั่นคง
ด้านนักบริหารงานส่งเสริมฯ
ทำให้ชีวิตไม่ซ้ำซากไร้เป้าหมาย
สร้างความเชื่อมั่น น่าเคารพนับถือ และสร้างความเชื่อถือ
ช่วยในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสมองให้เฉลียวฉลาด
และประสบความสำเร็จในชีวิต
ยกระดับความสามารถของตนเองและก้าวหน้าในอาชีพการงาน
การบริหารองค์กรฯ
อย่างสร้างสรรค์
ให้เป็นองค์กร
แห่งการเรียนรู้
กฎข้อที่3 การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม
กฎข้อที่4 การเรียนรู้ของทีม
กฎข้อที่2 โลกทัศน์
กฎข้อที่5 ความคิดเชิงระบบ
กฎข้อที่1 ทักษะในการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
ลักษณะสำคัญแสดงถึง
การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรมีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต
องค์กรมีการเรียนรู้จากผู้อื่น
องค์กรมีการทดลองปฏิบัติ
องค์กรมีการถ่ายทอดความรู้
องค์กรมีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
อุปสรรคในการสร้างสรรค์
องค์กรแห่งการเรียนรู้
ยึดติดอยู่กับเหตุการณ์มากเกินไป
ไม่เข้าใจในความแตกต่างของอดีตกับปัจจุบัน
ทำแบบเดิม ไม่ได้แก้ปัญหาที่สาเหตุจริง
มีผู้บริหารที่ดีแต่ไม่ได้สืบทอดความรู้ให้ผู้บริหารรุ่นต่อไป
สมาชิกรู้ปัญหาองค์กรแต่ไม่รู้ว่าตนเองเกี่ยวข้องอย่างไร
ขาดสติไม่รู้ตัวกับความเปลี่ยนแปลงที่ค่อยเป็นค่อยไป
สมาชิกรู้แต่หน้าที่ของตนเองแต่ไม่รู้เป้าหมายขององค์กร
การบริหารองค์กรส่งเสริมการเกษตร
ให้เป็นองค์กรแห่งความสุข
Happy Brain
Happy Soul
Happy Relax
Happy Money
Happy Heart
Happy Family
Happy Body
Happy Society
การแก้ปัญหาและการสร้างบรรยากาศ
การทำงานส่งเสริมฯอย่างสร้างสรรค์
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
หมายถึง การหาคำตอบและแก้ปัญหา พัฒนาให้ดีขึ้น โดยทำงานร่วมกันระหว่างการคิดสร้างสรรค์และการคิดวิจารณญาณ
กระบวนการ
ขั้นตอนที่ 3 การเลือกและเตรียมการ
ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 การคิดวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การลงมือปฏิบัติ
ขั้นตอนที่ 1 การเข้าถึงปัญหา
ความแตกต่างระหว่างการแก้ปัญหา
กับการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ข้อพึงระวังก่อนการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ไม่คิดแบบใหม่ใช้แต่วิธีการเดิม
ขาดเกณฑ์ที่ดีในการตัดสินใจ
ปัญหานั้นเกินกำลังความสามารถของตนเอง
ข้อมูลน้อยเกินไป
ลืมคนที่ใกล้ชิดปัญหามากที่สุด
หลงประสบการณ์
กำหนดวิธีการแก้ปัญหาก่อนที่จะวิเคราะห์ปัญหาอย่างจริงจัง
หลงวิชาการ
ขอบเขตของปัญหากว้างเกินไป
ใช้อารมณ์ไม่ใช้เหตุผล
ระบุปัญหาไม่ถูกต้อง
ขาดการประเมินผล
คุณสมบัติของนักคิดแก้ปัญหา
อย่างสร้างสรรค์
เปิดรับความคิดใหม่อยู่เสมอ
มีมนุษย์สัมพันธ์ดี
ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สนใจสิ่งรอบด้านอยู่เสมอ
มีความเป็นผู้นำ
กระตือรือร้น
กล้าหาญ กล้าเผชิญความจริง
ตั้งใจที่จะค้นหาความจริง
มันใจในตนเอง
คิดสร้างสรรค์
สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์
คิดหลากหลายและยืดหยุ่น
ใจเย็น สุขุม รอบคอบ
คิดอย่างมีเหตุผล
การสร้างบรรยากาศในการทำงาน
สร้างความรู้สึกปลอดภัย ไว้วางใจผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ
สร้างความต่อเนื่องในกิจกรรมที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์นั้น
มุ่งเน้นถึงผลตอบแทนที่ไม่ได้อยู่แค่ในรูปของเงินเท่านั้น
เปิดโอกาสให้สมาชิกในองค์การได้สำรวจ ค้นคว้า เรียนรู้ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ติดตามและพัฒนาบรรยากาศในการทำงาน
ผู้บริหารควรส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมที่ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
เลือกคนให้เหมาะสมกับงาน
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยแก่การเกิดความคิดสร้างสรรค์
ขจัดอุปสรรคที่ส่งผลเชิงลบ
ยอมรับ ให้เกียรติ ให้ความสำคัญผู้เสนอความคิดสร้างสรรค์
สร้างความมั่นใจในการประเมินผลงาน
สร้างเครือข่ายชุมชนนักคิดสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มพูนทักษะ
สื่อสารอย่างชัดเจนเรื่องผลงานและผลตอบแทน
ส่งเสริมและเผยแพร่เทคนิคในการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการใช้ความคิดสร้างสรรค์
กล้ายอมรับการตัดสินใจของผู้ร่วมงาน
มีความสงสัยใคร่รู้
เชื่อว่าปัญหาทุกเรื่องสามารถแก้ไขได้
ชอบความท้าทาย