Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เงินสำรองต่างๆ เป็นรายจ่ายต้องห้ามนอกจากเงินสำรองดังต่อไปนี้…
เงินสำรองต่างๆ เป็นรายจ่ายต้องห้ามนอกจากเงินสำรองดังต่อไปนี้ สามารถนำมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้คือ
1. เงินสำรองต่างๆนอกจาก
1.1เงินสำรองจากเบี้ยประกันภัยเพื่อสมทบทุนประกันชีวิตที่กันไว้ก่อนคำนวณกำไรเฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ65
1.2เงินสำรองจากเบี้ยประกันภัยเพื่อสมทบทุนประกันภัยอื่นที่กันไว้ก่อนคำนวณกำไร เฉพาะส่วนที่ไม่เกินร้อยละ40
1.3เงินสำรองที่กันไว้เป็นค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สำหรับเจ้าหนี้จากการให้สินเชื่อที่ธนาคารพาณิชย์ บริษัททุน
2.เงินที่จ่ายเข้ากองทุนใดๆเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่เงินที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธิการ และเงื่อนไขที่กำหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่183
3.รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้โดยเสน่ห์หา หรือการกุศล เป็ยรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์ ตามที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรีในส่วนที่ไม่เกินร้อยละ 2ของกำไรสุทธิ
5.รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนหรือรายจ่ายในการต่อเติม ปลีกย่อย ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นทรัพย์สินเป็นรายจ่ายต้องห้าม แต่หากเป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้
6. เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา ภาษีเงินได้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นรายจ่ายต้องห้าม คำว่า เบี้ยปรับและหรือเงินได้เพิ่มภาษีอากร ค่าปรับทางอาญา หมายถึง เบี้ยปรับและหรือเงินเพิ่มและค่าปรับอาญา ตามกฎหมายภาษีอากรทุกประเภทรวมถึงค่าปรับที่เป็นโทษทางอาญาและเงินเพิ่มภาษีอากรตามกฎหมายอื่นด้วย
7.การถอนเงินโดยปราศจากค่าตอบแทนของผู้เป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นรายจ่ายต้องห้าม หากมองตามหลักการบัญชีแล้ว การถอนเงินของผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ถือเป็นรายจ่ายอยู่แล้ว เป็นการถอนเงินลงทุนหรือเป็นการแบ่งกำไรกัน ไม่เกี่ยวข้องกับการบันทึกรายจ่ายของกิจการแต่อย่างใด
8.เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วนที่จ่ายเกินสมรวนเป็นรายจ่ายต้องห้าม เจ้าพนักงานมีอำนาจพิจารณารายจ่ายประเภทเงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเปรียบเทียบกับรายอื่นซึ่งอยู่ในฐานะหรือลักษณะเดียวกัน อยู่ในหน่วยงานเดียวกันหรือทำเลเดียวกันประกอบกิจการค้าอย่างเดียวกันหรือลักษณะเดียวกัน
18. รายจ่ายซึ่งผู้จ่ายพิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้ถือรับถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เช่น บริษัทรับจ้างถมที่และขายทราย-ดินลูกรัง ซึ่งซื้อมาจากจังหวัดชายทะเล แต่ผู้ขายไม่ได้ออกใบรับให้แต่อย่างใด กรณีนี้บริษัทก็ไม่มีหลักฐานที่เป็นค่าใช้จ่ายของการรับจ้างแต่หากบริษัทมีหลักฐานการจ่ายเงิน ระบุชื่อ ที่อยู่ เลขประจำตัวประชาชน วันเดือนปี จำนวนเงิน รายการที่จ่าย และให้ผู้รับเงินลงชื่อไว้นับเป็นหลักฐานในการหักเป็นรายจ่าย
19. รายจ่ายใดๆ ที่กำหนดจ่ายจากผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาบัญชีแล้วถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เช่นบริษัทจ่ายเงินค่าที่ปรึกษา โดยคำนวณจากกำไรของแผนที่ได้รับ การปรึกษาหาหรือเข้าลักษณะเป็นรายจ่ายใดๆ
20 .รายจ่ายที่มีลักษณะทำนองเดียวกับที่ระบุไว้ใน (1) ถึง (19) ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา
การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษี จำเป็นต้องกำหนดหลักเกณฑ์สำหรับรายจ่ายที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลสามารถนำมาใช้คำนวณกำไรสุทธิในแบบแสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลประจำปี
9.รายจ่ายซึ่งกำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง หรือรายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายรอบระนะเวลาบัญชีอื่นรายจ่าต้องห้าม เว้นแต่ในกรณีที่ไม่สามารถจะลงจ่ายในรอบระนะเวลาบัญชีใดก็อาจจ่ายในรอบระยะเวลาบัญชี
10.ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของและใช้เองเป็นรายจ่ายต้องห้าม เช่นบริษัทตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศได้มาเปิดสำนักงานสาขาในประเทศไทยโดยปลูกอาคารสำนักงานสาขาในประเทศไทย และคิดค่าเช่าปีละ600,000บาท ค่าเช่าจำนวน600,000บาทที่บริษัทสาขาในประเทศไทยจ่ายให้กับบริษัทสำนักงานใหญ่ในต่างปีะเทศนั้น
-
12.ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ หรือหรือผบขาดทุนสุทธิในรอบระยะเวลาบัญชีก่อนๆถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เว้นแต่ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน5ปีก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน กรณีความเสียหายนั้นมีทางที่จะได้รับการชดใช้ตามสัญญา แต่ถ้าได้รับค่าชดใช้เพียงบางส่วน ส่วนที่เหลือก็ลงเป็นรายจ่ายไดเ
14 .รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการในประเทศไทยโดยเฉพาะถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่สาขาในประเทศของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศได้จ่ายไปให้สำนักงานใหญ่หรือสาขาอื่นในต่างประเทศเพื่อเป็นค่าตอบแทนการให้ความช่วยเหลือหรือการให้บริการแก่กิจการของสาขาในประเทศไทยที่จะนำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
15.ค่าซื้อทรัพย์สินและรายจ่ายเกี่ยวกับการซื้อหรือขายทรัพย์สินในส่วนที่เกินปกติ
โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ซึ่งอาจกระทำกันภายในประเทศหรือระหว่างประเทศ หรืออาจเรียกราคาดังกล่าวว่า การกำหนดราคาโอน
16.ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้นไปเนื่องจากกิจการที่ทำถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เช่นการทำเหมืองแร่ หรือการทำป่าไม้ การที่จำนวนสินแร่หรือจำนวนไม้ลดลงหรือจะหมดไปหรือสูญสิ้นไปนั้น บริษัทจะตีราคาหรือนำมูลค่าที่ลดน้อยลงนั้นมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิไม่ได้ ต้องห้ามมาตรา65ตรี (16)แห่งประมวลรัษฎากร
17.ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคาตํ่าลงถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม กรณีนี้ห้ามมิให้ตีราคาทรัพย์สินลดลงเพื่อนำมูลค่าที่ลดลงมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ
4.ค่ารับรองหรือค่าบริการ ส่วนที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนดเป็นรายจ่ายต้องห้ามเว้นแต่ค่ารับรองดังต่อไปนี้สามารถนำมาเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิได้ มีหลักเกณฑ์ว่า
ก.ค่ารับรองหรือค่าบริการนั้นต้องเป็นค่ารับรองหรือค่าบริการอันจำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทั่วไป
ข.ค่ารับรองหรือค่าบริการต้องเป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการรับรองหรืออำนวยประโยชน์แก่กิจการ
ค.จำนวนเงินค่ารับรองและค่าบริการให้นำมาหักเป็นรายจ่ายได้เท่ากับจำนวนเท่าที่ต้องจ่ายแต่รวมกันต้องไม่เกินร้อยละ0.3ของจำนวนเงินยอดรายได้
ง.ค่ารับรองหรือค่าบริการนั้นต้องมีกรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วน
13.รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม เพราะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนตั้งขึ้นเพื่อมุ่งค้าหากำไร การชำระเงินควรอยู่ภายในวัตถุประสงค์ของการประกอบกิจการของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน