Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริม และพัฒนาการเกษตร, image, image…
หน่วยที่ 14
การจัดการความรู้ในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ใน
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทของความรู้
จำแนกตามลักษณะ
ความรู้ชัดแจ้ง หรือความรู้ที่ปรากฏ
ความรู้ฝังลึก หรือความรู้แฝงเร้น
จำแนกตามความรู้
ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่
ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร มาจากข้อมูล สารสนเทศที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยง กับความรู้อื่น จนเกิดเป็นความเข้าใจเชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
ความสำคัญ
ช่วยให้เกษตรกรและนักส่งเสริมสามารถพัฒนาตนเองให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ช่วยแก้ปัญหาหรือขจัดความสงสัย
ลักษณะของความรู้
ความรู้ชุมชน
เป็นความรู้ที่ไม่อ้างความเป็นสากล
เป็นความรู้ที่ไม่อยู่ในลายลักษณ์อักษร
มีลักษณะเป็นความรู้ในเชิงปฏิบัติ
มีมุมมองที่เกี่ยวกับศาสนธรรม
ความรู้ที่เกิดจาก
การศึกษาค้นคว้าวิจัย
เป็นความรู้ที่อยู่ในลายลักษณ์อักษร
สามารถถ่ายทอดจากคนได้โดยอาศัยสื่อและเครื่องมือด้วยวิธีการต่าง ๆ
เกิดขึ้นได้โดยอาศัยกระบวนการศึกษาค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
มีลักษณะเป็นความรู้ทั้งในเชิงปฏิบัติหรือเชิงทฤษฎี
วัตถุประสงค์ของ
การแสวงหาความรู้
เพื่อนำความรู้มาใช้ประโยชน์
เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหาความรู้
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การแสวงหาความรู้ใหม่
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม่
การถ่ายโอน
และการถ่ายทอดความรู้
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่กลุ่ม
การถ่ายโอนความรู้จากกลุ่มสู่กลุ่ม
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่บุคคล
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หมายถึง การจัดการโดยการรวบรวม สร้างจัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้เพื่อให้ได้ประโยชน์จากความรู้ด้านต่าง ๆ
เป้าหมายการจัดการความรู้
เพื่อพัฒนาคน
เพื่อพัฒนา“ฐานความรู้” ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการจัดการความรู้
การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
นำเข้าความรู้จากภายนอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสมและให้สอดคล้องกับระบบเดิมที่มีอยู่
การดำเนินการแบบบูรณาการ
ทดลองและเรียนรู้
ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในรูปแบบใหม่ ๆ
การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ของสมาชิกที่หลากหลายทักษะ และหลากหลายวิธีคิด
องค์ประกอบของการจัดการความรู้
กระบวนการความรู้
เทคโนโลยี
คน
การสร้างและยกระดับความรู้
ผ่านกระบวนการ“เซกิ” (SECI)
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization: E)
การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน (Combination: C)
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม (Socialization: S)
การฝังหรือผนึกความรู้ในตน (Internalization: I)
ขั้นตอนการสร้างความรู้
สารสนเทศ
ความรู้
ข้อมูล
กระบวนการจัดการความรู้
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือเผยแพร่ความรู้
การจัดหาความรู้
จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบ
การประมวลและกลั่นกรองความรู้
การสร้างและแสวงหาความรู้
การเข้าถึงความรู้
การบ่งชี้ความรู้
วิธีการในการจัดการความรู้
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน
ระบบพี่เลี้ยง
การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง
การประชุมระดมสมอง
การทำฐานข้อมูล
ชุมชนนักปฏิบัติ
การใช้การจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระดับองค์กร
ระดับชุมชน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
ผู้นำกลุ่มและผู้นำชุมชน
นักส่งเสริม
สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการความรู้
แหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงถ่ายทอด
และแลกเปลี่ยนได้สะดวก
บรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานของกลุ่มและชุมชน
ฐานความรู้
การมีเครือข่าย ภาคีและชุมทางในการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลาย
ลักษณะความรู้
การสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมายความรู้
การประเมินผลการจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางในการจัดการความรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในกลุ่มและชุมชน
เน้นใช้วิธีการจัดการความรู้จากการได้ปฏิบัติจริง
การปรับวิธีการและเนื้อหาสาระที่จะทำการถ่ายทอด
จัดทำระบบฐานข้อมูลให้เอื้อต่อการเก็บและการนำมาใช้ประโยชน์
การขยายผลและการต่อยอดความรู้
การมีผู้กระตุ้นหรือประสาน
การค้นหาความรู้
กระตุ้นให้มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในกลุ่มสมาชิก และเครือข่ายกับภายนอก
การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรควรจัดการอยู่บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นตัวขับเคลื่อน
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มและชุมชน
การจัดการความรู้ที่สอดแทรกไปกับการทำงานปกติ