Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร -…
หน่วยที่ 9 การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การติดตามงานส่งเสริมและพัมนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กำหนดความรับผิดชอบ
ตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
ให้ข้อมูลและสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจ
เกิดองค์ความรู้และการเรียนรู้
ผลการใช้ทรัพยากร/ผลการปฏิบัติงาน/ผลการดำเนินงาน
ประเภท
แบ่งตามสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ
ติดตามการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ติดตามการปฏิบัติงาน
ติดตามการปฏิบัติงานเชิงวิเคราะห์
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการติดตาม
ด้านปัจจัยนำเข้า
ด้านกระบวนการ
ด้านผลผลิต
แบ่งตามองค์ประกอบของโครงการ
การติดตามควบคุมด้านปริมาณ
การติดตามควบคุมด้านคุณภาพ
การติดตามควบคุมด้านเวลา
ติดตามด้านค่าใช้จ่าย
แบ่งตามลักษณะทั่วไปของประเภทการติดตามผล
ติดตามของแนวโน้ม
ติดตามงานขั้นต้น
ติดตามการดำเนินงานตามแผน
ติดตามประสิทธิผล
ติดตามโครงการ
ติดตามความถูกต้อง ความน่าเขื่อถือ
ติดตามการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ความหมายของการติดตตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการในการบริหารเพื่อติดตาม ทบทวน เฝ้าดู ตรวจสอบให้เป็นไปตามแผนงานหรืือโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการ กระบวนการ วิธีการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความถูกต้องและแม่นยำ
ทันเวลา
ประหยัด
ยืดหยุ่น
ทำความเข้าใจ
มีมาตรฐานที่สมเหตุสมผล
จัดระบบอย่างมีกลยุทธ์
เน้นเฉพาะเรืองสำคัญ
เสนอข้อปรับปรุง
ใช้เกณฑ์หลากหลาย
กระบวนการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ศึกษาโครงการ วางแผนติดตาม
เก็บรวบรวมข้อมูล
เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
การตัดสินใจ
การรายงานผล
วิธีการติดตามงานส่งเสริมและพัฒฯาการเกษตร
ติดตามจากบันทึกและรายงาน
บันทึก
ราบงานความก้าวหน้า
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรง
สังเกต
สัมภาษณ์หรือสอบถาม
ทำตาราง/แผนภูมิติดตามงาน
การนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ ของการนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ เพื่อชี้แจง แสดง จำแนกงานด้านส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาในด้านสติปัญญา จิตใจ ทักษะ เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงาน
วัตถุประสงค์ของการนิเทศ
พัฒนาบุคลากร
พัฒนางาน
สร้างความสัมพันธ์
สร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญของการนิเทศ
บุคลากร
องค์กร
วิชาชีพ
หลักการ กระบวนการ วิธีการนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการนิเทศ
ความถูกต้องทางวิชาการ
ความเป็นเหตุเป็นผล
มีส่วนร่วม
สร้างสรรค์
ภาวะผู้นำ
มนุษญสัมพันธ์
กระบวนการนิเทศ
ประเมินสภาพปัจจุบัน
วางแผน
ลงมือปฏิบัติ
สร้างขวัญกำลังใจ
ประเมินผล
รายงาน
การนิเทศ
รูปแบบการนิเทศ
รายบุคคล
เยี่ยมเยียน /สังเกต /สาธิต /ให้คำปรึกษา/ประเมินตนเอง
แบบกลุ่ม
ประชุม/ อบรม/ ประชุมเชิงปฏิบบัติการ/ ส่งเสริมการวิจัย
วิธีการนิเทศ
แบบเผชิญหน้า
ผ่านสื่อ
การประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย ความสำคัญ ประเภทของการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผน/โครงการ เพื่อใช้ข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติให้เป็นไปตามแผน/โครงการเพื่อให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึ้น
ความสำคัญ
ช่วยกำหนดวัตถุประสงค์ ให้มีความชัดเจน
ช่วยให้โครงการ/แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์
ช่วยควบคุมคุณภาพงาน
ช่วยในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า
สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้ปฏิบัติงาน
ประเภทของการประเมิน
แบ่งตามลักษณะการประเมินการปฏิบัติงาน
ก่อนการปฏิบัติงาน
ระหว่างดำเนินการ
หลังการดำเนินงาน
แบ่งโดยยึดหลักของการประเมิน
ประเมินขั้นต้น
ประเมินระหว่างดำเนินงาน
ประเมินสุดท้าย
ประเมินกระทบ
แบ่งโดยยึดแบบแผนของการประเมิน
ประเมินเชิงสำรวจ
ประเมินเชิงทดลอง
ประเมินโดยใช้รูปแบบของการประเมิน
หลักการ กระบวนการ วิธีการประเมิน
หลักการประเมิน
ด้านแนวคิดของการประเมิน
กำหนดแนวคิดหลักร่วมกัน
มีทัศนคติที่ดีต่อการประเมิน
นโยบายมีความชัดเจน
สร้างกระบวนการเรียนรู้
สื่อสารทำความเข้าใจ
ด้านการออกแบบประเมิน
ถูกต้องตามแบบแผน
เหมาะสมกับสถานการณ์
ครอบคลุมทุกมิติและเนื้อหา
ตัวชี้วัดชัดเจน
ไม่ซับซ้อนเกินไป
ด้านการดำเนินการประเมิน
การมีส่วนร่วม
มีความต่อเนื่อง
ข้อมูลน่าเชื่อถือ
ทำงานเป็นทีม
บรรยากาศการทำงานที่ดี
กระบวนการประเมิน
กระบวนการแบบสตัฟเฟิลบีม CIPP Model
ประเมินสภาพแวดล้อม
ประเมินปัจจัยนำเข้า
ประเมินกระวนการ
ประเมินผลผลิต
กระบวนการแบบไทเลอร์
กำหนดวัตถุประสงค์
ระบุเนื้อหาตาวัตถุประสงค์
หารูปแบบและวิธีการที่เหมาะสมกับเนืื้อหา
เก็บรวบรวมข้อมูลประเมินผลเพื่อดูว่าบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้หรือไม่
กระบวนนการแบบสคริฟเวน
ประเมินผลย่อยหรือประเมินความก้าวหน้า
ประเมินผลรวม หรือประเมินผลสรุป
วิธีการประเมิน
มุ่งเน้นกระบวนการ
แบบเป็นทางการ
แบบไม่เป็นทางการ
เชิงธรรมชาติ
เชิงระบบ
มุ่งเน้นผู้ประเมิน
ประเมินโดยผู้บริหาร
ประเมินโดยคณะกรรมการประเมิน
ประเมินโดยผู้ปฏิบัติระดับเดียวกัน
ประเมินผู้บริหารโดยผู้ปฏิบัติงาน
ประเมินโดยเกษตรกรหรือบุคคลเป้าหมาย