Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้สูงอายุ เพศหญิง อายุ 86 ปี - Coggle Diagram
ผู้สูงอายุ เพศหญิง อายุ 86 ปี
กรณีศึกษาเป็นผู้สูงอายุลักษณะใด
พิจารณาตามลักษณะการแบ่งช่วงอายุ (ตอนต้น/ ตอนกลาง/ตอนปลาย
กลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนกลาง อายุ 70-79 ปี
กลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนปลาย อายุ 80 ปีขึ้นไป
ผู้สูงอายุกรณีศึกษาอายุ 86 พบว่าอยู่ในช่วงผู้สูงอายุวัยตอนตอนปลาย อายุ 80 ปีขึ้นไป
กลุ่มผู้วัยผู้สูงอายุวัยตอนต้น อายุ 60-69 ปี
พิจารณาตามลักษณะของผู้สูงอายุ (Successful aging /Active aging/ Productivity aging)
Successful Aging คือ ผู้สูงอายุที่มีศักยภาพ มีความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมที่พักอาศัย มีส่วนร่วมในกิจกรรมที่หลากหลาย และทฤษฎีความต่อเนื่องเป็นประจำ
ผู้สูงอายุกรณีศึกษา Successful Aging สามารถปล่อยวางในอาชีพที่เคยทำในอดีต พึ่งพอใจกับการที่ต้องอยู่บ้าน ที่ไม่ได้ออกไปประกอบอาชีพ
Productive Aging ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีความสามารถด้านการผลิตสินค้าและบริการทั้งที่มีผลตอบแทน
Active Aging คือ การมีสุขภาพที่ดี การมีส่วนร่วมที่มีความหมายถึงบทบาทของผู้สูงอายุที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมทั้งหลายของครอบครัว ชุมชนและสังคม
พิจารณาความเป็นผู้สูงอายุจากอายุจริง ที่ปรากฏ (Chronological aging) หรือ อายุตามวันเกิดจากปฏิทิน
ผู้สูงอายุ อายุ 86 ปีตามวันที่เกิด คือ วันที่ 13 เดือนมิถุนายน ปี 2479
พิจารณาตามลักษณะเปราะบางของผู้สูงอายุ
ลักษณะของภาวะเปราะบาง 5 ประการที่พบ คือ 1)กล้ามเนื้ออ่อนแรง 2) กิจกรรมทางกายต่ำลง 3) เดินช้า 4)ความเหนื่อยล้า 5) น้ำหนักลดลงโดยไม่ตั้งใจร่วมกับภาวะอ่อนแอ ทั้งกาย จิต สังคม
ผู้สูงอายุกรณีศึกษามีลักษณะของ
Frailty aging
ทฤษฎีการสูงอายุเชิงชีวภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับพันธุกรรม
(Wear and tear theory) ความชราเป็นผลมาจากการเสื่อมของเซลล์ในร่างกายที่ไม่สามารถจะถูกซ่อมแซมหรือทดแทนได้
ผู้สูงอายุ 86 ปี มีโรคประจำตัวคือ โรคเบาหวาน เป็นโรคเบาหวานมาแล้ว 40 ปี ทำให้หลอดเลือดแข็งตัว มีความยืดหยุ่นได้ไม่ดี ทำให้การสูบฉีดเลือดไปตามร่างกายได้ไม่ดี และโรคหลอดเลือดสมอง ระยะเวลา 2 ปี อาจเกิดจากที่บริเวณหลอดเลือดมีการจะสมไขมัน เกิดการตีบ อุดตัน จากการรับประทานอาหารที่มีไขมันมาก
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 2 ร่างกายมีประสิทธิภาพการทำงานลดลง เป็นผลมาจากจากการตีบของหลอดเลือดแดงที่มาเลี้ยงสมอง
ข้อมูลสนับสนุน
O : ผู้สูงอายุเป็น โรคหลอดเลือดสมอง ปี 2563 ได้รับการฟื้นฟูร่างกาย และกายภาพบำบัด 1 ปี หลังจากนั้นสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ADL คะแนนรวม 15 คะแนน E4M6V5 Motor power grade 5 แขน-ขาฝั่งซ้ายและ power grade 4 แขน-ขาฝั่งขวา มีอาการแขน-ขา ฝั่งขวาชา และสั่น
ผู้สูงอายุใช้รถ wheelchair ใช้เข็นเวลาผู้สูงอายุเดิน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า “ขาขวาชา ไม่ค่อยมีแรงเดิน”
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นกันเอง 2. แนะนำผู้สูงอายุมีการเคลื่อนไหวร่างกาย และออกกำลังกาย แขน3.ดูแลเรื่องโภชนาการของผู้สูงอายุ 4.การควบคุมโรคเบาหวานอยู่ในเกณฑ์ปกติ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 4 มีภาวะท้องผูก เนื่องจากเคลื่อนไหวร่างกายลดลง
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นกันเอง 2.แนะนำอาหารควรรับประทานอาหารอ่อนย่อยง่าย อาหารที่มีกากหรือเส้นใยมากขึ้น 3. แนะนำดื่มน้ำ 4. การออกกำลังกาย 5.ส้วมควรเป็นแบบโถนั่งราบ 6.ฝึกถ่ายอุจจาระให้เป็นเวลา 7. หลีกเลี่ยงความเครียด
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า “ไม่ค่อยขับถ่าย”
O : ผู้สูงอายุ อายุ 86 ปี ถ่ายอุจจาระ 3-4 วัน/ครั้ง ลักษณะอุจจาระแข็ง ใช้เวลานานในการถ่ายอุจจาระ Bowel Sound 6 ครั้ง / นาที
ได้รับการรักษา Senokot (7.5) 3 tab po. OD. hs
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory ) การเปลี่ยนแปลงของสารไขว้ขวาง (Cross-linking agent) คือ คอลลาเจน อิลาสติน และสารที่อยู่ภายในเซลล์เนื้อเยื่อ (Ground substance) รวมทั้งสารที่อยู่ภายนอกเซลล์ (Extracellular substance)
กลุ่มสารใยโปรตีนเป็นเนื้อเยื่อที่ช่วยประคับประคองและให้ความแข็งแรง พบในผิวหนัง เอ็น กระดูก และกล้ามเนื้อ
ผิวหนังตามร่างกายชุ่มชื้น มีความหยืดหยุ่น เคยได้รับการลอกตาข้างซ้าย และผ่าตัดเปลี่ยนเลนส์ตาข้างขวา เมื่อ 3 ปีที่แล้ว ปัจจุบันตรวจ VA ผลตรวจ 6/12 ผู้สูงอายุสามรถช่วยเหลือตนเอง และเคลื่อนไหวได้ ผู้สูงอายุใส่ฟันปลอมทั้งปาก เริ่มใส่ฟันปลอม อายุ 50 ปี เนื่องจากฟันหัก และถอนฟัน
Accumulative theory ผู้สูงอายุมีผลมาจากการสะสมสารที่เป็นอันตรายต่อการทำหน้าที่ของเซลล์ คือ ไลโปฟิสซิน (lipofuscin) ทำให้เกิดกระบวนการเผาผลาญที่ผิดปกติ
ตรวจร่างกาย ผิวหนังเหี่ยวย่น มีจุดด่างดำบนใบหน้า (senile lentigines) ผิวหนังตกกระ (lentigo senilis) บริเวณ แขนและใบหน้า
Free radical theory เกิดจากการถูกทำลายโดยอนุมูลอิสระ (free radical) ซึ่งเป็นอะตอมหรือโมเลกุลที่ มีอิเล็กตรอนไม่ครบคู่ คือพร้อมที่เหนี่ยวนำให้โมเลกุลอื่นเกิดเป็นอนุมูลอิสระได้ และมีความเป็นพิษสูงต่อร่างกาย โดยถูกสร้างขึ้นมากระบวนการเผาผลาญ
ภายใน เช่น ขณะออกกำลังกาย รับประทาน อาหารทอด สูบบหรี่ แอลกอฮอล์
ผู้สูงอายุชอบทานขนมหวาน และดื่มกาแฟ
ภายนอก เช่น มลพิษ แสงแดด
ผู้สูงอายุ เมื่อก่อนทำอาชีพปลูกผัก ผลไม้ขาย ทำให้ได้รับแสงแดดมาก
Neuroendocrine theory การทำงานของระบบสมอง ประสาทอัตโนมัติ และต่อมไร้ท่อจะทำงานประสาน ควบคุมซึ่งกันและกัน อายุมากขึ้นจะมีการ
เปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
ต่อมใต้สมองส่วนหน้า จะเสื่อมหน้าที่ ฮอร์โมนต่ำ ซึ่งเป็นผลให้สูงอายุเบื่ออาหาร อ่อนเพลีย ขนบริเวณรักแร้
ผู้สูงอายุมีอาการเบื่ออาหาร
ต่อมไทรอยด์ จะมีขนาคเล็กลงหลังอายุ 50 ปีขึ้นไป
ตับอ่อน จะผลิตอินซูลินได้น้อยลง เป็นผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
ผู้สูงอายุ มีโรคประจำตัวเป็น โรคเบาหวาน เมื่อก่อนชอบทานขนมหวาน และดื่มกาแฟ หลังจากเป็นโรคเบาหวานก็ทานลดลง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1 เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง เนื่องมีพฤติกรรมไม่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า “ชอบกินผลไม้ กินวันละหลายลูก หิวก็จะทาน”
O : ผู้สูงอายุ อายุ 86 ปี มีโรคประจำตัวคือโรคเบาหวาน ตรวจสุขภาพครั้งล่าสุด น้ำตาลในเลือดได้ 148 mg/dL บริเวณที่ผู้สูงอายุนั่งดูโทรทัศน์มีตะกร้าผลไม้วางไว้ใกล้ตัว มีผลไม้หลายชนิด เช่น กล้วยน้ำหว้า 1 หวี ฝรั่ง ส้ม ผู้สูงอายุ น้ำหนัก 60 กิโลกรัม ส่วนสูง 150 เซนติเมตร BMI: 26.67 อยู่ในระดับอ้วน รอบเอว 41 นิ้ว
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นกันเอง 2.ให้คำแนะนำเกี่ยวกับอาหาร การรับประทานอาหารที่ถูกต้องและเหมาะสมกับโรค 3.แนะนำให้ผู้ป่วยออกกำลังกาย วันละประมาณ 30-40 นาที สัปดาห์ละ 3-5 วัน 4.ส่งเสริมการควบคุมน้ำหนักให้เห็นความสำคัญ เสี่ยงเกิดโรคหลอดเลือดสมองซ้ำ 5.แนะนำควรควบคุมระดับน้ำตาลให้อยูในเกณฑ์ปกติ และให้สังเกตอาการของน้ำตาลในเลือดสูง 6.การใช้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์ แนะนำปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนอื่นๆได้แก่ ควรพบจักษุแพทย์อย่างปีละ 1
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Psychosocial theories of aging)
(Peck' s theor) แบ่งผู้สูงอายุ
สูงอายุวัยต้น อยู่ในช่วงอายุ 55 - 75 ปี
สูงอายุวัยปลายอยู่ในช่วง 75 ปีขึ้นไป
ผู้สูงอายุ 86 ปี กลุ่มวัยปลาย
การพัฒนาการ 3
ประการ
1 ความรู้สึกของผู้สูงอายุขึ้นอยู่กับงานที่มีทำอยู่ ผู้สูงอายุจะรู้สึกภาคภูมิใจและ
เห็นว่าตนเองมีคุณค่า แต่เมื่อเกษียณอายุแล้วความรู้สึกนี้จะลดลง
2 ผู้สูงอายุยอมรับว่าเมื่ออายุมากขึ้น สมรรถภาพของร่างกายเปลี่ยนแปลงไป
ตามธรรมชาติ
ผู้สูงอายุยอมรับว่าเมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายก็เปลี่ยนไปตามอายุของมันเองเคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกเหมือนเมื่อก่อน นอนไม่ค่อยหลับ
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 3 ผู้สูงอายุมีการนอนหลับทีผิดปกติระยะ REM เนื่องจากพฤติกรรมการนอนหลับไม่เหมาะสม
ข้อมูลสนับสนุน
S : ผู้สูงอายุบอกว่า “ตอนกลางคืนนอนไม่ค่อยหลับ”
O : ผู้สูงอายุจะนอนช่วงเช้าเวลา 09.00-11.00 น. และช่วงเย็น 16.00-16.30 น. ตอนกลางคืนเข้านอนเวลา 20.00น. ตื่นมาปัสสาวะตอน 00.00 น. หลังจากนั้นใช้ไม่ค่อยหลับ ตื่นตอนกลางคืน ถ่ายปัสสาวะ 4-5 ครั้ง
กิจกรรมการพยาบาล
1.สร้างสัมพันธภาพด้วยท่าทีที่เป็นกันเอง 2.แนะนำการส่งเสริมการนอนหลับในผู้สูงอายุ 3.แนะนำให้ผู้สูงอายุหลีกเลี่ยงพฤติกรรมต่างๆ ที่จะทำให้เกิดปัญหาการนอนหลับ 4.ดูแลให้ผู้สูงอายุผ่อนคลายด้านจิตใจและอารมณ์ 5.การดูแลจัดสิ่งแวดล้อมให้เอื้อกับการนอนหลับ
3 ผู้สูงอายุขอมรับว่าร่างกายต้องเปลี่ยนแปลงไปตานธรรมชาติ ยอมรับเรื่องความตายโดยไม่รู้สึกกลัว
ผู้สูงยอมรับความตายถ้าจะตายก็ปล่อยไปตามกาลเวลาของมันเอง ยอมรับร่างกายของตนเองที่