Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 13 การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร, image, image, image…
หน่วยที่ 13
การวิจัยเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
หมายถึง งานวิจัยด้านต่าง ๆ ซึ่งมีเป้าหมายที่จะนำผลงานวิจัยไปใช้ในการนำการเปลี่ยนแปลง หรือการนำคำตอบไปสู่เกษตรกรหรือชุมชนอันจะทำให้เกิดการยอมรับเทคโนโลยีการเกษตรเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประโยชน์ของการวิจัย
ช่วยแก้ปัญหาข้อขัดข้องของผู้วิจัยหรือผู้เกี่ยวข้อง อย่างมีระบบและน่าเชื่อถือ
ช่วยพัฒนาระบบบริหาร
ให้ความรู้ใหม่หรือวิทยาการใหม่
เผยแพร่ชื่อเสียงของผู้วิจัย
ประเภทของการวิจัย
เกณฑ์ที่นำมาจัดประเภท
เกณฑ์ที่อิงประเภทของข้อมูล
เกณฑ์ที่อิงเวลาที่เหตุการณ์นั้น ๆ เกิดขึ้น
เกณฑ์ที่อิงการควบคุมตัวแปร
เกณฑ์ที่อิงสาขาวิชา
เกณฑ์ที่อิงจุดมุ่งหมายของการวิจัย
จำแนกประเภทการวิจัยตามศาสตร์
การวิจัยทางสังคมศาสตร์
การวิจัยทางวิทยาศาสตร์
จำแนกตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัย
การวิจัยพื้นฐาน
การวิจัยประยุกต์
จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยจากเอกสาร
การวิจัยจากสนาม
ลักษณะการวิจัย
การวิจัยเชิงศึกษาเฉพาะกรณี
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
การวิจัยเชิงสำรวจ
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
ประเด็นการวิจัย
การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาเกษตรกร
การวิจัยเกี่ยวกับเทคโนโลยีการเกษตร และการปรับใช้
การวิจัยด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยทางการเกษตร
ความสัมพันธ์ระหว่างการวิจัย
กับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมและพัฒนา
เกษตรกร
การวิจัย
นักส่งเสริม
การพัฒนาความสามารถ
ในการวิจัยของนักส่งเสริม
การศึกษาในสถาบันการศึกษา
การแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้รู้
การฝึกอบรม
การลงมือทำการวิจัยเมื่อมีโอกาส
จรรยาบรรณของนักวิจัย
ต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย
ต้องมีอิสระทางความคิด
ต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย
พึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ
ต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาที่ทำวิจัย
พึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น
ต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำงานวิจัย
พึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ
ต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ
กระบวนการวิจัยเพื่อการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
ขั้นดำเนินการ
เก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล
ระดับการวัดตัวแปร
การเลือกใช้สถิติ
การประมวลและวิเคราะห์ข้อมูล
การนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
การเตรียมและตรวจสอบข้อมูลเพื่อวิเคราะห์
สร้างเครื่องมือ
ร่างแบบสอบถาม
ตรวจสอบเพื่อแก้ไขปรับปรุง
กำหนดรูปแบบของคำถามที่จะใช้
จัดทำบรรณาธิการ
กำหนดข้อมูลที่ต้องการ
ทดลองใช้
ขั้นสรุปและรายงานผลการวิจัย
สรุป อภิปราย และเสนอแนะ
จัดทำรายงานผลการวิจัย
ประโยชน์ของการเขียนรายงานผลการวิจัย
เป็นสื่อกลางในการสร้างความรู้ความเข้าใจ
ทำให้เกิดการสร้างองค์ความรู้และเกิดประสบการณ์
เป็นการรายงานผลการศึกษาที่นักวิจัยค้นพบจากการวิจัย
เป็นการยกระดับ หรือพัฒนาวิชาชีพต่าง ๆ ให้มีมาตรฐานสูงขึ้น
ประเภทของรายงานผลการวิจัย
จำแนกตามลักษณะของรายงาน
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
รายงานการวิจัยฉบับย่อ
จำแนกตามบุคคลที่ใช้ประโยชน์
เสนอต่อผู้ปฏิบัติงาน
เสนอต่อสาธารณชน
เสนอต่อผู้บริหาร
หลักการเขียนรายงาน
ความเป็นเอกภาพ
ความสัมพันธ์สอดคล้องเชื่อมโยงต่อเนื่อง
ความครบถ้วนสมบูรณ์
ความกระจ่างชัด
ความถูกต้อง
ความตรงประเด็น
ความเป็นระบบและมีรูปแบบ
ความมีเหตุผล
ส่วนประกอบของรายงาน
ส่วนเนื้อหา
บทที่3 วิธีดำเนินการวิจัย
บทที่4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล หรือผลการวิจัย
บทที่2 การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
บทที่5 สรุป อภิปรายและข้อเสนอแนะ
บทที่1 บทนำ
ส่วนอ้างอิง
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
ส่วนนำ
ข้อควรคำนึงในการเขียนรายงาน
ความต่อเนื่อง
ความสำคัญ
ความชัดเจน
ความเป็นจริง
ความถูกต้องและครบถ้วน
การอ้างอิง
ขั้นเตรียมการ
กำหนดวัตถุประสงค์
ออกแบบการวิจัย
กำหนดเครื่องมือการวิจัย
กำหนดวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
กำหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
กำหนดตัวแปรและสมมติฐาน
กำหนดโจทย์วิจัย
แนวทางในการกำหนดโจทย์การวิจัย
แหล่งที่มาของโจทย์การวิจัย
กำหนดหัวข้อ ชื่อเรื่อง และประเด็นสำหรับการวิจัย
การจัดทำโครงการวิจัย
ขอบเขตการวิจัย
นิยามศัพท์
สมมติฐานการวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ระยะเวลาดำเนินการวิจัย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
แผนการดำเนินการ
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
สถานที่ทำการวิจัย
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ทรัพยากรและงบประมาณที่ต้องการ
ชื่อเรื่องที่จะวิจัย
ประวัติคณะวิจัย
การเผยแพร่และนำผลงานวิจัยไปใช้
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประเมินคุณภาพงานวิจัย
เพื่อการสรุปผล
เพื่อการคัดเลือก
เพื่อการวินิจฉัย
การเผยแพร่ผลงานวิจัย
ในรูปบทความด้วยการตีพิมพ์
ในวารสารวิชาการ
การเขียนบทความวิจัย
เชิงสรุปรายงานวิจัย
เชิงวิเคราะห์หรือบทความปริทัศน์
ขั้นตอนการเผยแพร่
มีผู้ทรงคุณวุฒิในการอ่านและตรวจแก้ไขหรือตรวจสอบบทความ
มีการตรวจค้นเอกสารอ้างอิงจากแหล่งต่าง ๆ
เขียนบทความวิจัยตามหัวข้อและความยาวที่วางแผนไว้
ส่งบทความไปตีพิมพ์เผยแพร่
จัดเตรียมบทความต้นฉบับเพื่อจะตีพิมพ์เผยแพร่
ศึกษาวิเคราะห์ข้อบกพร่องและข้อผิดพลาด
ศึกษารูปแบบ วิธีการและขั้นตอนการเขียนรายงาน
ส่งต้นฉบับบทความกลับไปที่บรรณาธิการเพื่อการตีพิมพ์ใหม่
วางแผนเตรียมการเรื่องการตีพิมพ์เผยแพร่
ผลงานวิจัยในวารสารไว้ล่วงหน้า
การเป็นพี่เลี้ยงให้กับนักวิจัยอื่น
การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการ
ด้วยวาจา
เตรียมการจัดทำเอกสารเพื่อเผยแพร่
เตรียมการนำเสนอด้วย power point
ถ้าได้รับการตอบรับแล้วควรศึกษารายละเอียดของวิธีการนำเสนอ
เตรียมตัวในเรื่องการพูด
ติดตามผลการตอบรับให้ไปนำเสนอจากผู้จัด
ศึกษาและตรวจสอบล่วงหน้า
สมัครลงทะเบียนเพื่อไปนำเสนอผลงาน
จัดเตรียมงบประมาณในการเดินทาง/ที่พัก
สืบค้นหาแหล่งที่มีการจัดประชุม
ด้วยโปสเตอร์
ออกแบบโปสเตอร์
เลือกใช้วัสดุ
ศึกษารายละเอียดของโปสเตอร์ให้ดี
หาแหล่ง/ร้านรับจ้างทำโปสเตอร์
ติดตามผลการตอบรับให้ไปนำเสนอจากผู้จัด
จัดเตรียมงบประมาณ
สมัครลงทะเบียนไปนำเสนอผลงาน
วางแผนเรื่องการอธิบาย หรือตอบคำถาม
ค้นหาแหล่ง/การจัดประชุม
ศึกษาเรื่องเวลา และสถานที่
การนำผลงานวิจัยไปใช้
ในการกำหนดนโยบาย
กำหนดนโยบายการบริหาร
กำหนดนโยบายเฉพาะกิจ
กำหนดนโยบายหลัก
การนำผลงานวิจัยไปใช้ในการวางแผน
ใช้ในกระบวนการวางแผน
ใช้ในการนำแผนไปปฏิบัติ
การนำผลงานวิจัยไปใช้
ในการดำเนินงานส่งเสริมการเกษตร
พัฒนาเกษตรกร และชุมชน
พัฒนานักส่งเสริม และองค์กร
การพัฒนางาน
ใช้ในการกระตุ้น ชี้แนะ และร่วมแก้ไขปัญหา
ไปประสานงาน
ถ่ายทอดให้ความรู้แก่เกษตรกร