Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่, 1FAB9175-4B83-4579-856A-CB80AABFD486, ละครเรื่อง…
ละครที่พัฒนาขึ้นใหม่
ละครร้อง
-
-
-
-
-
-
ความเป็นมา
กำเนิดขึ้นตอนปลายสมัยรัชกาลที่ 5 ได้ปรับปรุงขึ้นโดยต้นกำเนิดมาจากการแสดง “บังสาวัน” ของชาวมลายู ได้เคยเล่นถวายรัชกาลที่ 5 ต่อมาพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์ ทรงแก้ไขปรับปรุงเป็นละครร้องเล่นที่โรงละครปรีดาลัย ภายหลังได้มีชื่อว่า “ละครหลวงนฤมิตร” หรือ “ละครปรีดาลัย” นิยมกันมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 6-7
เรื่องที่แสดง
ละครร้องสลับพูด
ตุ๊กตายอดรัก, ขวดแก้วเจียระไน, สาวเครือฟ้า, กากี
-
-
ละครสังคีต
-
การแสดง
มุ่งหมายที่ความไพเราะของเพลง โดยตัวละครจะต้องร้องเอง ซึ่งจะมุ่งที่บทร้องและบทพูดเป็นหลักสำคัญในการดำเนินเรื่อง เป็นการแสดงหมู่ที่งดงาม ในการแสดงแต่ละเรื่องจะต้องมีบทของตัวตลกประกอบเสมอ และมุ่งไปในทางสนุกสนาน
เรื่องที่แสดง
นิยมแสดงบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มี 4 เรื่อง ได้แก่ เรื่องหนามยอกเอาหนามบ่ง ทรงเรียกว่า "ละครสลับลำ", เรื่องวิวาห์พระสมุทร ทรงเรียกว่า "ละครพูดสลับลำ", เรื่องมิกาโดและวั่งตี่ ทรงเรียกว่า "ละครสังคีต"
-
-
-
ความเป็นมา
ละครสังคีตเป็นละครที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงริเริ่มขึ้น โดยมีวิวัฒนาการจากละครพูดสลับลำ แต่ต่างกันที่ละครสังคีตมีบทสำหรับพูดและบทสำหรับตัวละครร้องในการดำเนินเรื่องเท่าๆ กัน
การแต่งกาย
แต่งตามสมัยนิยม โดยคำนึงถึงสภาพความเป็นจริงของฐานะตัวละครตามเนื้อเรื่อง และความงดงามของเครื่องแต่งกาย
-
ละครพูด
ความเป็นมา
เริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการแสดงละครพูดสมัครเล่นเป็นครั้งแรก เนื้อเรื่องละครพูดที่แสดงในสมัยนี้ดัดแปลงมาจากบทละครรำที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย ต่อมาในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนละครพูดอย่างดียิ่งเนื่องจากมีคนชอบละครประเภทนี้มาก
ผู้แสดง
-
-
ละครพูดแบบร้อยกรอง
ผู้แสดงทั้งชายและหญิงมีบุคลิก และการแสดงเหมาะสมตามลักษณะที่กล่าวไว้ในบทละคร น้ำเสียงแจ่มใสชัดเจน กังวาน ฉะฉานไหวพริบดี
-
-
-
-
บุคคลสำคัญ
-
ละครร้อง
- พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระนราธิปประพันธ์พงศ์
เป็นผู้พระนิพนธ์บท และกำกับการแสดง ละครร้องสลับพูด ได้แก่ตุ๊กตายอดรัก ขวดแก้วเจียระไน เครือณรงค์ กากี
- รัชกาลที่ 6 ทรงดัดแปลงละครอุปรากรของชาวตะวันตก ที่เรียกว่า "โอเปอเรติก ลิเบรตโต" (Operatic Libretto) มาเป็นละครในภาษาไทย และทรงนิพนธ์ละครร้องล้วนๆ เรื่อง สาวิตรี
-
ละครพูด
- พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระราชนิพนธ์เรื่อง “โพงพาง” เมื่อ พ.ศ. 2463 และ “เจ้าข้า สารวัด!”
- นายมนตรี ตราโมท (อัฉราพรรณ)
แต่งเรี่อง "เรื่องสี่นาฬิกา"
-
ความหมาย
หมายถึง รูปแบบการแสดงที่ดำเนินเรื่องราว เป็นศิลปะที่อาจเกิดจากการนำภาพจากจินตนาการ ประสบการณ์หรือเรื่องราวต่างๆ มาผูกเป็นเรื่อง มีเหตุการณ์เชื่อมโยงเป็นตอนๆตามลำดับ โดยดำเนินเรื่องราวจากผู้แสดงเป็นผู้สื่อความหมายต่อผู้ชม
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
สมาชิก ม.4/8
- นางสาวฐิติชญาน์ บัวศรี เลขที่ 15
- นางสาวธันยพร จันทร เลขที่ 16
- นางสาวพิมพ์พีรดา มะลี เลขที่ 19
- นางสาวกษมา หนูฤทธิ์ เลขที่ 30
-
-
-