Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ศาสนาสากล - Coggle Diagram
ศาสนาสากล
ศาสนาคริสต์
ลักษณะทั่วไปของศาสนา
มี 3 นิกาย (โรมันคาทอลิก กรีกออร์โธดอกซ์ โปสเตสแตนท์
คำสอนสำคัญคือเรื่อง ความรัก
เอกเทวนิยม (พระยะโฮวาห์)
คัวภีร์ใบเบิ้ล
ถือกำเนิดในจักรวรรดิโรมัน
จุดมุ่งหมายสูงสุดคืออยู่นอาณาจักรของพระเจ้า
ศีลศักดิ์สิทธิ์
ศีลสารภาพบาปหรือการแก้บาป
ศีลเจิมค้นไข้
ศีลมหาสนิท
ศีลบวช
ศีลกำลัง
ศีลสมรส
ศีลล้างบาป
นิกายคาลวิน (John Calvin)
เน้นความสำคัญของคัมภีร์ใบเบิลและการมีชีวิตอยู่อย่างเรียบง่าย
นิกายลูเธอร์รัน (Martin Luther)
ส่วนมากนับถือในประเทศเยอรมัน สหรัฐอเมริกา ประเทศแถบสแกนดิเวเนีย
แปลพันธะสัญญาใหม่เป็นภาษาเยอรมัน แต่เดิมเป็นภาษาละติน
รับศีล 2 ข้อ คือ ศีลล้างบาป และ ศีลมหาสนิท
เน้นการพัฒนาบุคคล โดยไม่ต้องอาศัยนักบวชหรือพระ
นิกายอังกลิกัน
Catherine Of Aragon
Anne Boleyn
Henry Viii
ศาสนาอิสลาม
ลักษณะทั่วไปของศาสนา
ศาสดา คือ นบีมูฮัมหมัด
มี 2 นิกายที่สำคัญ คือ นิกายซุนนีและชีอะห์
เอกเทวนิยม (อัลลอฮ์)
คัมภีร์อัลกุรอาน
มุสลิม คือ ผู้แสวงหาสันติ หรือผู้นอบน้อมต่อพระเจ้า
ศาสนาที่มีบทบาททั้งการเมืองแลัการดำเนินชีวิต
อิสลาม คือ การอ่อนน้อมถ่อมตน ยอมจำนนต่อพระเจ้า
นิกายซุนนี
แปลว่า มรรคา หรือ จารีต
ลักษณะสำคัญ
เคร่งครัดการปฏิบัติตาม คัมภีร์อัลกุรอาน
ยอมรับศาสดานบีมูฮัมหมัดและผู้นำ
นับถือคัมภีร์เล่มหนึ่งชื่อ ชุนนะห์
นิกายชีอะห์
ลักษณะสำคัญ
ท่านอาลี บัตรเขยของศาสดามูฮัมหมัดเป็นผู้ถูกต้อง
นับถืออิหม่าม 12 คน และใช้หมวกแดงเป็นสัญลักษณ์
เรียกผู้สืบทอดจากพระมุฮัมหมัด ว่า อิหม่าม
แปลว่า ผู้ปฏิบัติตาม หรือ สาวก
หลักธรรมและพิธีกรรมทางศาสนา
หลักศรัทธา 6
ศรัทธาต่อศาสนทูต (บรรดาศาสดาต่างๆ)
ศรัทธาในวันสุดท้ายและการเกิดใหม่
ศรัทธาในคัมภีร์
ศรัทธาในกฎสภาวะของพระเจ้า
ศรัทธาในเทวทูตของพระเจ้า
ศรัทธาในเอกภาพของพระผู้เป็นเจ้า
หลักปฏิบัติ 5
การปฏิญาณตน
การปฏิญาณละหมาด
การถือศีลอด
การบริจาคทรัพย์
การประกอบพิธีฮัจญ์
ศาสนาพุทธ
ลักษณะทั่วไปของศาสนา
คำสอนสำคัญคือเรื่อง อริยสัจ 4 และ อนัตตา
คัมภีร์พระไตรปิฎก (พระวินัย พระธรรม พระสุตตันตะ)
มี 2 นิกายสำคัญ (เทรวาทและมหายาน)
เป็นศาสนาที่อธิบายเหตุปัจจัยและต้องพิสูจน์
อเทวนิยม
จุ่ดมุงหมายสูงสุดคือการไปสู่นิพพาน
ถือกำเนิดในชมพูทวีป
หลักธรรมที่ควรรู้
ไตรลักษณ์
บุญกิริยาวัตถุ
ขันธ์ 5
หิริ-โอตัปปะ
อริยสัจ 4 - ไตรสิกขา
ปฏิจจสมุปบาท
โยนิโสมนสิการ
พิธีกรรมในศาสนาพุทธ
พิธีการแสดงอาบัติ
การทอดกฐิน
พิธีปวารณา
การทอดผ้าป่า
วันเข้าพรรษา
วันวิสาขบูชา
วันมาฆบูชา
วันอาสาฬหบูชา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ระบบวรวณะในอินเดีย
กษัตริย์ (ชนชั้นปกครอง-นักรบ)
แพศย์ (พ่อค้า-คหบดี-เกษตรกร-ช่างฝีมือ)
พราหมณ์ (นักบวช)
ศูทร (ชนชั้นแรงงาน)
เกิดจากอวัยวะทั้ง 4 ของพระพรหม
จัณฑาล
คัมภีร์ในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
คัมภีร์พระเวท (คัมภีร์ศรุติ)
ยชุรเวท
สามเวท
ฤคเวท
อาถรรพเวท
หลักธรรมที่สำคัญ
หลักปรัชญาภควัทคีตา
อาศรม 4
คฤหัสถ์ (วัยครองเรือน)
วานปรัสถ์ (ปฏิบัติธรรมในป่า)
พรหมจารี (วัยศึกษาเล่าเรียน)
สันยาสะ (ครองเพศบรรพชิต)
นาย พงศกร ยอดสวัสดิ์ เลขที่ 17 ม.6/10