Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การพัฒนากลุ่มและเครือข่าย ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 11
การพัฒนากลุ่มและเครือข่าย
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับกลุ่มในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
พัฒนาการและการบริหารกลุ่ม
พัฒนาการของกลุ่ม
ระยะที่ 2 ก่อตั้ง/ก่อเกิดกลุ่ม
ระยะที่ 3 การทำกิจกรรมกลุ่ม หรือปรับตัวดำรงอยู่
ระยะที่ 1 เตรียมกลุ่ม
ระยะที่ 4 กลุ่มเข้มแข็งมีการขยายตัวของกลุ่ม
การบริหารกลุ่ม
การจัดคนทำงานในกลุ่ม
การประสานงาน
การนำ
การบริหารการเงิน
การวางแผนกลุ่ม
การติดตามและประเมินผล
การจัดองค์กรหรือโครงสร้างกลุ่ม
การขยายเครือข่าย
องค์ประกอบและประเภทของกลุ่ม
องค์ประกอบของกลุ่ม
ผู้นำและกรรมการกลุ่ม
กฎระเบียบและแนวปฏิบัติของกลุ่ม
สมาชิก
การทำกิจกรรมกลุ่ม
เป้าหมายของกลุ่มหรือความสนใจร่วมกัน
ทุนของกลุ่ม (ที่เป็นตัวเงิน,ไม่เป็นตัวเงิน)
ประเภทของกลุ่ม
จำแนกตามลักษณะกิจกรรม
กลุ่มเรียนรู้
กลุ่มกิจกรรม
จำแนกตามพัฒนาการของกลุ่ม
กลุ่มก่อเกิด
กลุ่มดำเนินการ
กลุ่มเตรียมการ
กลุ่มเข้มแข็ง
จำแนกตามโครงสร้างของกลุ่ม
โครงสร้างแบบง่าย ๆ
โครงสร้างซับซ้อน
จำแนกตามวัตถุประสงค์และการดำเนินกิจกรรม
กลุ่มเกษตรกรที่เน้นทรัพยากร และใช้ชุมชนเป็นฐาน
กลุ่มเกษตรกรที่เน้นการตลาดและใช้สินค้าเป็นฐาน
จำแนกตามแนวคิดด้านการจัดองค์การ
กลุ่มที่เป็นทางการ
กลุ่มที่ไม่เป็นทางการ
ความหมายและความสำคัญของกลุ่ม
หมายถึง การที่คนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมารวมกัน มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และมีพฤติกรรมตลอดจนการกระทำของแต่ละบุคคลเพื่อไปสู่เป้าหมายและวัตถุประสงค์ร่วมกัน เพื่อสร้างสรรค์และพัฒนาในสิ่งที่เป็นประโยชน์ทั้งต่อตนเอง กลุ่มและต่อชุมชน มีแนวปฏิบัติและบทบาทหน้าที่ให้ถือปฏิบัติตามฐานะที่ถูกกำหนดภายในกลุ่ม และมีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
ความสำคัญ
ช่วยรวบรวมและประสานความสามารถ
สร้างการตัดสินใจร่วม
เป็นศูนย์กลางของการส่งเสริมพัฒนาแก่สมาชิก
เพิ่มโอกาสในการแก้ปัญหาแก่สมาชิกและกลุ่ม
เกิดพลังอำนาจในการคิดริเริ่ม และต่อรอง
ส่งเสริมการพัฒนาสมาชิกให้มีความรู้ ความสามารถมากขึ้น
เปิดมุมมองใหม่ ๆ ของสมาชิกที่มารวมกลุ่มกัน
แนวคิดเกี่ยวกับเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบและประเภทของเครือข่าย
องค์ประกอบของเครือข่ายทั่วไป
การทำหน้าที่อย่างมีจิตสำนึก
การมีส่วนร่วมและการแลกเปลี่ยน
จุดมุ่งหมาย
ระบบความสัมพันธ์และการสื่อสาร
หน่วยชีวิตหรือสมาชิก
องค์ประกอบของเครือข่าย
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
การมีปฏิสัมพันธ์และการสื่อสารร่วมกัน
การทำหน้าที่ต่อกันของสมาชิกอย่างมีจิตสำนึกเมื่อแต่ละหน่วยหรือสมาชิกมารวมกัน
กระบวนการเสริมสร้างซึ่งกันและกัน
มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน
มีความเท่าเทียมของฝ่ายต่าง ๆ
หน่วยหรือสมาชิกของเครือข่าย
การแบ่งปันผลประโยชน์ที่เกิดจากการทำงานร่วมกัน
ประเภทและรูปแบบของเครือข่าย
การจำแนกเครือข่ายตามการเชื่อมโยง
รูปแบบแนวดิ่ง
รูปแบบแนวราบ
การจำแนกเครือข่ายตามการก่อเกิด
เครือข่ายจัดตั้ง
เครือข่ายวิวัฒนาการ
เครือข่ายที่เกิดโดยธรรมชาติ
การจำแนกเครือข่ายตามขอบเขตของชุมชน
เครือข่ายภายในชุมชน
เครือข่ายภายนอกชุมชน
ประเภทเครือข่ายในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เครือข่ายเชิงพื้นที่
เครือข่ายเชิงประเด็นกิจกรรม
ความหมายและความสำคัญของเครือข่าย
หมายถึง การประสานเชื่อมโยงความร่วมมือระหว่างกลุ่มและองค์กรที่มีกิจกรรมคล้ายคลึงกันและเชื่อมโยงขยายผลการทำงานหรือแนวคิดไปสู่กลุ่มองค์กรอื่นๆเพื่อเสริมสร้างพลังในการแก้ไขปัญหาและการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆโดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันการมีส่วนร่วมและกระบวนการกลุ่มที่จะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายร่วมกันของทุกฝ่าย
ลักษณะของการเชื่อมโยงเครือข่าย
มีเป้าหมาย หรือวัตถุประสงค์ร่วมกัน
มีลักษณะเป็นอิสระต่อกัน
เป็นความสัมพันธ์ระหว่างทุกหน่วยย่อย
สมาชิกจะมีความเสมอภาคกัน
เงื่อนไขการเป็นเครือข่าย
แนวคิดการรวมพลัง
แนวคิดเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร
ทฤษฎีแลกเปลี่ยน
ความสำคัญของเครือข่าย
เป็นแหล่งรวบรวมและเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลไปมาระหว่างแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
เกิดพลังอำนาจในการคิดริเริ่มและต่อรอง
เป็นเวทีสำหรับการปฏิบัติงานร่วมกัน
เกิดพลังใจ ความสามัคคี
เกิดการพึ่งพาตนเองในกลุ่มสมาชิกเครือข่าย
เป็นกลยุทธ์ที่เสริมสร้างจุดแข็งขององค์กร
เกิดการจัดการทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
ก่อเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
พัฒนาการของเครือข่าย
พัฒนาการเครือข่าย
ขั้นการสร้างพันธกรณีเครือข่าย
ขั้นการพัฒนาความสัมพันธ์เครือข่าย
ขั้นตระหนักและการก่อตัวเครือข่าย
ขั้นการรักษาความสัมพันธ์เครือข่าย
พัฒนาการของเครือข่ายในการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
ระยะก่อตั้ง
ระยะการดำเนินกิจกรรม
ระยะเตรียมการ/ก่อเกิด
ระยะขยายเครือข่าย
รูปแบบพัฒนาการของเครือข่าย
การพัฒนาเครือข่ายจากกลุ่มใหญ่แยกเป็นกิจกรรมย่อย ๆ และเชื่อมโยงกัน
การพัฒนาเครือข่ายแบบผสม
การพัฒนาเครือข่ายจากกลุ่มกิจกรรมย่อยหลายกลุ่มเชื่อมโยงกันเป็นกลุ่มใหญ่
ข้อกำหนดเบื้องต้นในการสร้างเครือข่าย
พิจารณาความสามารถของแกนนำ/แม่ข่าย
การพัฒนาอยู่ตลอดเวลาและการเสริมพลังการทำงาน
เครือข่ายควรมีพันธสัญญา มีความผูกพันกันในระยะยาว
การค้นหาภูมิปัญญา วัฒนธรรม ประเพณี สำนึกท้องถิ่น ที่จะเชื่อมโยงเครือข่าย
ให้ความสำคัญกับการเสริมให้กลุ่มย่อยที่เป็นสมาชิกเครือข่าย
การใช้พลังข้อมูล ความรู้และสื่อมวลชนช่วยในการพัฒนาเครือข่าย
ควรคำนึงถึงพื้นที่ที่พอเหมาะ
การทำงานกับกลุ่มและเครือข่าย
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การทำงานกับเครือข่าย
หลักการ
การมีพันธสัญญาที่หนักแน่นระหว่างกัน
กำหนดเป้าหมายทิศทางให้ชัดเจน
การสร้างผลของกิจกรรมที่เกิดขึ้นให้เป็นรูปธรรม
สร้างระบบการจัดการเครือข่าย ภายใต้เป้าหมายร่วม
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิกเครือข่าย
ต้องพัฒนากลุ่มลูกข่ายให้มีความเข้มแข็ง
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
การมีกลไกการสื่อสารระหว่างสมาชิกและภาคี
ส่งเสริมให้มีการสร้างวัฒนธรรมเครือข่าย
แสวงหากลุ่มแกนนำที่มีจิตสำนึก “การพึ่งพาและร่วมมือกัน”
การทำงานที่เชื่อมประสานจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่
คำนึงถึงกิจกรรมที่กลุ่มหรือหน่วยย่อยทำอยู่
วิธีการทำงาน
ระยะก่อตั้งเป็นเครือข่าย
ระยะการดำเนินกิจกรรม
ระยะเตรียมการ/ก่อเกิด
ระยะขยายเครือข่าย
การทำงานกับกลุ่ม
หลักการสำคัญ
การสร้างผลของกิจกรรมที่เกิดขึ้นให้เป็นรูปธรรม
การพัฒนาความเข้มแข็งของผู้นำ
การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของสมาชิก
การมีชุมทางสื่อสารที่หลากหลาย
การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
การมีพันธสัญญาที่หนักแน่นระหว่างกัน
การรักษาพันธกรณี ความสัมพันธ์และการสื่อสารที่เป็นระบบ
เป้าหมายทิศทางกลุ่มต้องชัดเจน
การทำงานที่เริ่มจากจุดเล็กและขยายไปสู่หน่วยใหญ่
การคำนึงถึงระยะของพัฒนาการกลุ่ม
วิธีการ
การทำงานในระยะก่อตั้งกลุ่ม
การทำงานในระยะทำกิจกรรม/ปรับตัวดำรงอยู่
การทำงานในระยะเตรียมกลุ่ม
การทำงานในระยะเข้มแข็ง/ขยายตัว