Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการ…
หน่วยที่ 9
แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด หลักการและกระบวนทัศน์ของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
หลักการของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
สื่อเป็น “เครื่องมือ” ในการพัฒนา
ต้องดำเนินการบนพื้นฐานกระบวนทัศน์การพัฒนา
ต้องมีเสรีภาพในการนำเสนอ
ผู้ส่งสารต้องมีความรับผิดชอบต่อสาร
บทบาทหน้าที่
ด้านการบริการ
ด้านการพัฒนา
แนวคิดของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา การสื่อสารเพื่อการพัฒนา หรือ Communication for Development นั้นถือได้ว่าเป็นสาขาย่อยสาขาหนึ่งของวิชาการสื่อสาร ดังนั้นในด้านหนึ่ง การสื่อสารเพื่อการพัฒนาจึงมีคุณลักษณะร่วมกับการสื่อสารประเภทอื่นๆ
กระบวนทัศน์ของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
แนวคิดทางด้านการสื่อสาร และแนวคิดทางด้านการพัฒนามิได้เป็นแนวคิดที่ตายตัว หากแต่มีความหลากหลายภายใต้กระบวนทัศน์ (paradigm) ที่มีการแปรเปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเวลาหรือยุคสมัย
ยุคสมัยของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ยุคกระบวนทัศน์สู่ความทันสมัย
ยุคกระบวนทัศน์ด้านการพึ่งพา
ยุคกระบวนทัศน์ทางเลือก
ยุคหลังปี ค.ศ. 2000
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือไอซีที จึงเป็นการนำความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการสื่อสารโทรคมนาคม มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ต่อการจัดการสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ
ความสำคัญ
การศึกษา
เศรษฐกิจ
สังคม
การเมือง
การสาธารณสุข
การเกษตร
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ด้านการสารสนเทศและการจัดเก็บข้อมูล
ด้านการให้ความรู้และการฝึกอบรม
ด้านการค้าและการบริการ
ด้านกลุ่มและเครือข่าย
ประเภทตามลักษณะของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การสื่อสารประเภทเสียง
สิ่งพิมพ์และภาพ
สื่อสารด้านเสียงและภาพ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการปฏิสัมพันธ์
ประเภท
รูปแบบออฟไลน์ (off-line technology)
รูปแบบออนไลน์ (Online technology)
การประยุกต์ที่ควรคำนึง
มีความน่าเชื่อถือ
ตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว
นำเสนอสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้รับ
มีความเป็นมิตร และมีความต่อเนื่อง
ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ทฤษฎีผลกระทบของสื่อและการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีผลกระทบของสื่อ
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีเทคโนโลยีการสื่อสารเป็นผู้กำหนด
ทฤษฎีด้านบุคคล กลุ่มและสังคมในการสื่อสาร
ทฤษฎีภาพสะท้อนในสื่อ (Reflection Theory)
ทฤษฎีบทบาทหน้าที่เชิงสังคมของสื่อ (Social Functionalism of Media)
ทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจากสื่อ (Uses and Gratifications Approach)
ทฤษฎีการสื่อสารและการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม
ทฤษฎีสื่อแบบประชาธิปไตยเน้นการมีส่วนร่วม
ที่มาของแนวคิดเรื่องการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
คุณลักษณะของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสาร
ทิศทางการไหลของข่าวสาร
ระดับของการมีส่วนร่วม
เนื้อหาสาร ประเภทของสื่อ และผลที่เกิดขึ้น