Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Teenage Pregnancy การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น, นางสาวมาลินี พินธะ …
Teenage Pregnancy
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
สาเหตุเเละปัจจัยส่งเสริม
• ขาดความรู้เกี่ยวกับการป้องการตั้งครรภ์
• การมีประจำเดือนเร็ว
• การถูกข่มขืน
• การเปลี่ยนเเปลงของสังคม วัฒนธรรม ความเชื่อ ค่านิยม
• การดื่มสุรา ติดสารเสพติด
• การศึกษา สถานทางสังคม
• ครอบครัวทะเลาะกันเป็นประจำ
• ครอบครัวเเตกเเยก
• พ่อเเม่ไม่มีเวลาให้กับลูก
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
ด้านร่างกาย
วัยรุ่นเป็นวันที่กำลังอยู่ในช่วงเจริญเติบโตเมื่อตั้งครรภ์อาจทำให้การเจริญเติบโตของร่างกายหยุดชะงัก หรือเพิ่มน้อยกว่าปกติ ความสูงน้อยกว่าที่ควรจะเป็น เนื่องจากการตั้งครรภ์มีการหลั่งฮอร์โมนเอสโตรเจนมาขึ้นทำให้ Epiphysis ของกระดูกปิดเร็วขึ้นทำให้ร่างกายไม่สูง
ประจำเดือนมาไม่สม่ำเสมอทำให้การฝากครรภ์ล่าช้าบางคนไม่กล้ามาฝากครรภ์ทำให้ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยง ส่งผลต่อภาวะทุพโภชนาการโลหิตจาง
ถ้าเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่ได้วางแผน ( Unplanned Pregnancy)
เเละไม่สามารถยอมรับการตั้งครรภ์ กลายเป็นการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ ( Unwanted Pregnancy)
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะโลหิตจาง
การคลอดก่อนกำหนด ( Preterm )
• หญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปี
• เกิดจากการเจริญเติบโตที่ไม่เต็มที่ของร่างกายวัยรุ่น
• เกิดจากภาวะความดันโลหิตสูงเเละทารกในครรภ์โตช้า
• ติดเชื้อในร่างกาย เช่น การติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
• ดื่มเหล้าสูบบุหรี่ ใช้สารเสพติดขณะตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ภาวะถุงน้ำคร่ำเเตกก่อนกำหนด
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน ( CPD )
การตกเลือดในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อในระหว่างการตั้งครรภ์
• โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
• โรคติดเชื้อที่มักเกิดในวัยเด็ก เช่น การติดเชื้อในหูชั้นกลาง โรคอีสุกอีใส หัด คางทูม ไอกรน เป็นต้น
ด้านจิตสังคม
มีภาวะเครียด เศร้า หดหู่ เเละวิตกกังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนเเปลงภาพลักษณ์ตนเองในระยะตั้งครรภ์เเละระยะหลังคลอด
สาเหตุที่ทำให้เกิดความเครียด
การทำงานหนัก
ความกังวลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ เเละการได้รับข้อมูลจาก
Social Network ต่างๆ
การเปลี่ยนเเปลงของร่างกายจากการตั้งครรภ์
ปัญหาเศรษฐกิจเเละสังคม
เมื่อหญิงตั้งครรภ์เครียดร่างกายจะหลั่งฮอร์โมน Epinephrine เเละ Norepinephrine
หลอดเลือดหดรัดตัว เเละลดปริมาณออกซิเจนที่ไปเลี้ยงมดลูก
เเละมีผลต่อ Corticotrophin Releasing Hormone ( CRH )
มีผลต่อระยะเวลาการตั้งครรภ์ เเละการพัฒนาของทารก มีความเสี่ยงที่ทารกในครรภ์จะมีความผิดปกติทางบุคลิกภาพ
ไม่ได้รับการยอมรับจากสังคมเเละครอบครัว
มีปัญหาเรื่องการปรับตัว
ทารกได้รับการดูไม่เหมาะสม อาจถูกทารุณกรรมหรือถูกทิ้ง
ความหมาย
การตั้งครรภ์ในสตรีวัยรุ่นที่มีอายุต่ำกว่า 20 ปี เเบ่งเป็น 3 ระยะ
วัยรุ่นตอนต้นอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 14 ปี
วัยรุ่นตอนกลางอายุ 15-17 ปี
วัยรุ่นตอนปลายอายุ 18-19 ปี
ผลกระทบต่อทารก
ทารกเเรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ( low birth weight )
การคลอดก่อนกำหนดหรือเกินกำหนด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แสดงความสนใจ เอาใจใส่ ให้ความเห็นใจเเละเข้าใจปัญหา
ให้คำปรึกษาเเละเเนะนำทางเลือกในการตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราการทำเเท้ง
ให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนเเปลงของร่างกาย จิตใจ ในขณะตั้งครรภ์ พัฒนาการ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
ให้คำเเนะนำเเก่หญิงตั้งครรภ์ให้เห็นถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัด
การประเมินสภาพทั่วไป
1.การซักประวัติอายุ การมีประจําเดือน การขาดประจําเดือน การวางแผน/ไม่ได้วางแผนการ ต้ังครรภ์ ความต้องการบุตร
การตรวจร่างกายทั่วไป การชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงการตรวจดูเยื่อบุตาดูภาวะซีด กรณีมาฝากครรภ์ครั้งหลังประเมินการเพิ่มน้ำหนักของหญิงตั้งครรภ์
ตรวจครรภ์ตามท่ามาตรฐาน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การตรวจครรภ์การประเมินอายุครรภ์เเละการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ด้วยคลื่นความถี่สูงการตรวจความเข้มข้นของเลือดเพื่อประเมินภาวะซีด
การประเมินสุขภาพตามกรอบเเนวคิด 11 แบบแผน
ระยะคลอด
อาจพบภาวะเจริญเติบโตไม่เต็มที่ของกระดูกเชิงกรานในสตรีที่มีอายุ < 16 ปี เป็นสาเหตุของภาวะเเทรกซ้อนทางสูติกรรม เช่น การคลอดยาวนาน การคลอดติดไหล่
การผ่าคลอด การใช้หัตถการทางสูติศาสตร์ที่เพิ่มขึ้น
ดูเเลเพื่อส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด
ให้คำเเนะนำการปฏิบัติตัวเพื่อบรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
สังเกตอาการผิดปกติที่ควรมาโรงพยาบาล
อาการไข้ ปวดมดลูก
น้ำคาวปลาเป็นสีเเดงตลอดไม่จางลงมีกลิ่นเหม็น
มีเลือดสดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก
เต้านมอักเสบ บวมเเดง เเละมีการกดเจ็บ
ปัสสาวะเเสบขัด
ปวดศีรุนเเรงตาพร่ามัว
มีภาวะซึมเศร้า
เเนะนำมารดาหลังคลอดวัยรุ่น ให้งดการมีเพศสัมพันธ์อย่างน้อย 6 สัปดาห์หลังคลอด
ให้คำเเนะนำก่อนกลับบ้านเน้นเรื่องการวางเเผนการเลี้ยงดูบุตร การวางเเผนครอบครัว เเละการคุมกำเนิดที่เหมาะสม
ส่งเสริมการเลี้ยงดูบุตรด้วยนมมารดา
ส่งเสริมการปรับสู่บทบาทการเป็นมารดาวัยรุ่นหลังคลอด
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์
รับใหม่วันที่ 5 พ.ย. 65 เวลา 14.15 น. HN : 650013387 หญิงตั้งครรภ์อายุ 19 ปี G2P1A0L1 GA40+5 wks by LMP
LMP วันที่ 24 ม.ค. 65 EDC วันที่ 31 ต.ค. 65 ANC ครั้งเเรกเมื่ออายุครรภ์ 30+1 wks ANC 7 ครั้ง รพ.พิมาย ไม่ครบคุณภาพตามเกณฑ์
ประวัติการเจ็บป่วย : ปฏิเสธ
ประวัติครอบครัว : ปฏิเสธ
ประวัติการเเพ้ยา : ปฏิเสธ
น้ำหนักก่อนการตั้งครรภ์ 50 kg ส่วนสูง 168 cm BMI 17.72 kg/cm2
น้ำหนักปัจจุบัน 58 kg ส่วนสูง 168 BMI 20.55 kg/cm2 total weight gain = 8 kg ก่อนการตั้งครรภ์เคยฉีดวัคซีนบาดทะยัก 1 ครั้ง ครั้งสุดท้ายช่วง ป.6
ขณะตั้งครรภ์ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ 1 ครั้ง วันที่ 3 ต.ค. 65
LAB
LAB I
CBC : Hct 31.7 %, Hb 10.3 g/dL, MCV 79.3 fl, MCH 26 pg
VDRL : Non reactive
HBsAg : Negative
Anti HIV : Negative
Blood gr ABO, Rh : AB positive
LAB II
Hct 33%
VDRL : Non reactive
HBsAg : Negative
Anti HIV : Negative
Chief complain
เจ็บครรภ์คลอด 7 ชม. 30 น. ก่อนมา รพ.
PI : หญิงตั้งครรภ์ให้ประวัติว่า06.30 น. ตื่นนอนรู้สึกว่าเจ็บครรภ์เเละท้องปั้นบ่อยขึ้น ลูกดิ้นดี จึงมารพ. G2P1A0L1 GA 40+5 by LMP 24 ม.ค. 65 EDC 31 ต.ค. 65 ANC ครั้งแรก GA30+1 wks ที่ รพ.พิมาย 7 ครั้ง ไม่ครบคุณภาพตามเกณฑ์ ปฏิเสธการสัมผัสผู้ป่วยโควิด ไม่มีบุคคลในบ้านที่มีการติดเชื้อโควิด HF = 29 cm U/C D 40” I 4’30’ FHS 140 bpm position LOA PV Cx. dilate 2 cm EFF 50% MI station -2 EFW 2900 gm
V/S T=36.8 P = 90 bpm RR = 20 B/P 120/80 mmHg
นางสาวมาลินี พินธะ
รหัสนักศึกษา62110077