Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มโนทัศน์และทฤษฎี การบริหารจัดการ - Coggle Diagram
มโนทัศน์และทฤษฎี การบริหารจัดการ
ความหมาย
การบริหาร
Harold Koonzt
การดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยการอาศัยปัจจัยทั้งหลาย
Barnard
การทำงานของคณะบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปที่ร่วมปฏิบัติการให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน
Herbert A. Simon
กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป
ร่วมมือกันดำเนินการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง
มักนำไปใช้กับองค์การราชการ
การจัดการ
Robbins and DeCenzo
กระบวนการหรือกิจกรรมต่างๆ ที่ทำให้งานสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลด้วยคน และทรัพยากรขององค์การ
มักนำไปใช้กับองค์การทางธุรกิจ
ทฤษฎีการจัดการ
ยุคพฤติกรรมศาสตร์
เน้นศึกษาด้านพฤติกรรมของมนุษย์
มนุษยสัมพันธ์
ยุคการจัดการร่วมสมัย
ทฤษฎีการบริหารตามสถานการณ์
การบริหารตามแบบญี่ปุ่น
ทฤษฎีระบบ
ยุคดั้งเดิม
แนวคิดการจัดการเชิงบริหาร
แนวคิดการบริหารแบบระบบราชการ
แนวคิดการจัดารแบบวิทยาศาสตร์
แนวคิดการจัดารแบบวิทยาศาสตร์
นักบริหารที่สำคัญ
Frederick W. Taylor
สร้างวามร่วมมือในการทำงานอย่างฉันท์มิตร
ต้องพัฒนาบุคคลแต่ละคนให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ต้องคัดเลือกคนตามหลักการวิทยาศาตร์
พัฒนาหลักการแบบวิทยาศาสตร์ขึ้นมาใช้เป็นมาตรฐานในการทำงาน แทนการทำงานแบบเคยชิน
Henry L. Gantt
ระบบการจูงใจโดยการให้ Bonus โดย Gantt เชื่อว่าคนเป็นองค์ประกอบที่สำคัญอย่างหนึ่งของปัญหาด้านการจัดการทั้งหมด
พัฒนาแผนภูมิบันทึกความก้าวหน้าของงานเทียบเวลา Gantt chart หรือ Bar chart
Frank & Lillian Gilbreth
ลดจำนวนการเคลื่อนไหวในการทำงาน
เพิ่มประสิทธิภาพ เพื่อเพิ่มผลกำไรและ ความพึงพอใจของพนักงาน
มุ่งเน้นไปที่ศึกษาการเคลื่อนไหวและเวลาที่เพิ่มขึ้น
หลักการ
มีการพิจารณาผลตอบแทนในการปฏิบัติงาน
ให้สอดคล้องกับความต้องการของผลผลิต
กำหนดมาตราฐานของ คุณภาพ และปริมาณของผลงานที่ต้องการ โดยวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างงานกับผู้ปฏิบัติ
อาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือหลักของเหตุผล
เป็นกระบวนการจัดการที่อาศัยหลักเกณฑ์ ทางวิทยาศาสตร์ในการทำงานให้เกิดประสิทธิ ใช้เหตุผล สามารถพิสูจน์หาข้อเท็จจริงได้
แนวคิดการจัดการเชิงบริหาร
นักบริหารที่สำคัญ
Henry Fayol
Chester I Barnard
Luther Gulick
เป็นแนวคิดที่เชื่อว่าประสิทธิภาพ ขององค์กรการจะเพิ่มขึ้นได้โดยการปรับปรุงกระกวนการบริหาร
การบริหารแบบระบบราชการ
เป็นรูปแบบการบริหารที่สามารถนำซึ่ง ความสำเร็จสูงสุดในการดำเนินงานต่าง
นักบริหารที่สำคัญ
Max Weber