Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
หน่วยที่ 9
การติดตาม การนิเทศ และการประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หลักการ กระบวนการ และวิธีการติดตามงานส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
กระบวนการติดตาม
เปรียบเทียบผลการดำเนินงาน
ตัดสินใจ
เก็บรวบรวมข้อมูล
รายงานผล
ศึกษาโครงการและวางแผนติดตาม
รูปแบบของการติดตาม
ไม่เป็นทางการ
เป็นทางการ
หลักการ
หลักความสามารถที่จะทำความเข้าใจ
หลักการมีมาตรฐานที่สมเหตุสมผล
หลักความยืดหยุ่น
หลักการจัดระบบอยางมีกลยุทธ
หลักความประหยัด
หลักการเน้นเฉพาะเรื่องสำคัญ
หลักความทันเวลา
หลักการใช้เกณฑ์หลากหลาย
หลักความถูกตองและแม่นยำ
หลักการเสนอข้อปรับปรุง
วิธีการติดตาม
จากบันทึกและรายงาน
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรง
สัมภาษณ์หรือสอบถาม
จัดทำตาราง/แผนภูมิติดตามงาน
สังเกต
ความหมาย ความสำคัญ และประเภทของการติดตามงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญ
การตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินงาน
ตรวจสอบความราบรื่นของโครงการ
ตรวจสอบประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน
ตรวจสอบปัญหา อุปสรรค
ตรวจสอบการใช้ทรัพยากร
ตรวจสอบความล่าช้าของงาน
การให้ข้อมูลและสารสนเทศสำหรับการตัดสินใจ
การกำหนดความรับผิดชอบ
ทำให้เกิดองค์ความรู้และการเรียนร
ความสำคัญของโครงการหรือแผนงาน
ผลการใช้ปัจจัยหรือทรัพยากร (Input)
ผลการปฏิบัติงานหรือกิจกรรม (Process)
ผลการดําเนินงาน (Outputs)
ประเภทของการติดตาม
แบ่งตามจุดมุ่งหมายของการติดตาม
การติดตามการปฏิบัติงาน
การติดตามการปฏิบัติงานเชิงวิเคราะห
การติดตามการปฏิบัติตามกฎและระเบียบ
แบ่งตามองค์ประกอบของโครงการ
การติดตามด้านกระบวนการ
การติดตามด้านผลผลิต
การติดตามด้านปัจจัยนำเข้า
แบ่งตามสิ่งที่ต้องการตรวจสอบ
การติดตามการควบคุมด้านคุณภาพ
การติดตามการควบคุมด้านเวลา
การติดตามการควบคุมด้านปริมาณ
การติดตามด้านค่าใช้จ่าย
แบ่งตามลักษณะทั่วๆไปของประเภทการติดตามผล
การติดตามประสิทธิผล
การติดตามโครงการ
การติดตามการดำเนินงานตามแผน
การติดตามความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ
การติดตามงานขั้นต้น
การติดตามการปฏิบัติตามกฎและระเบียบ
การติดตามของแนวโน้ม
หมายถึง กระบวนการหนึ่งเพื่อติดตาม ทบทวน เฝ้าดู และตรวจสอบการดำเนินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เป็นไปตามแผนงานหรือโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และทำรายงานสรุป เพื่อใช้ในการทบทวนและแก้ไขปัญหาขณะดำเนินโครงการหรือแผนงาน
การนิเทศงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หมายถึง กระบวนการทำงานร่วมกันระหว่างบุคลากรในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร ได้แก่ ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ เพื่อชี้แจง แสดง หรือจำแนกงานด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรเพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านบุคลากร ทั้งในด้านสติปัญญา (cognitive) จิตใจ (affective) และทักษะ (psychomotor) เพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ในงาน และพัฒนาวิชาชีพ
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนางาน
เพื่อสร้างความสัมพันธ์
เพื่อพัฒนาบุคลากร
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน
ความสำคัญ
ต่อองค์กร
ต่อวิชาชีพ
ต่อบุคลากร
หลักการ
หลักการมีส่วนร่วม
หลักการสร้างสรรค์
หลักความเป็นเหตุเป็นผล
หลักภาวะผู้นำ
หลักความถูกต้องทางวิชาการ
หลักมนุษยสัมพันธ์
กระบวนการนิเทศ
ลงมือปฏิบัติ
สร้างขวัญและกำลังใจ
วางแผน
ประเมินผล
ประเมินสภาพปัจจุบัน
รายงาน
วิธีการ
แบบเผชิญหน้า
แบบรายบุคคล
การสาธิต
การให้คำปรึกษา
การสังเกต
การให้ประเมินตนเอง
การเยี่ยมเยียน
แบบกลุ่ม
การอบรม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
การประชุม
การส่งเสริมการวิจัย
แบบผ่านสื่อ เช่น คู่มือ จดหมายข่าว วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์
การประเมินงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หมายถึง กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูลการปฏิบัติงานตามแผน หรือโครงการที่กำหนดไว้ แล้วใช้ข้อมูลเหล่านั้นในการแก้ไขปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามแผน เพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพมากขึ้น
ความสำคัญ คือ ช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบคุณภาพ ความชัดเจนของงานว่าสามารถสนองตอบความต้องการของสังคมได้มากน้อยเพียงใด และยังช่วยให้ผู้บริหารสามารถตัดสินใจได้ว่าจะดำเนินงานต่อไป หรือต้องปรับปรุงงานในทิศทางใดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเภทของการประเมิน
แบ่งโดยยึดหลักของการประเมิน
การประเมินระหว่างดำเนินงาน
การประเมินสุดท้าย
การประเมินขั้นต้น
การประเมินกระทบ
แบ่งโดยยึดแบบแผนของการประเมิน
การประเมินเชิงทดลอง
การประเมินโดยใช้รูปแบบของการประเมิน
การประเมินเชิงสำรวจ
แบ่งตามลักษณะการประเมินการปฏิบัติงาน
ระหว่างดำเนินการ
หลังการดำเนินงาน
ก่อนการปฏิบัติงาน
หลักการประเมิน
หลักการด้านการออกแบบการประเมิน
ครอบคลุมทุกมิติและเนื้อหา
ตัวชี้วัดชัดเจน
เหมาะสมกับสถานการณ์
ไม่ซับซ้อนเกินไป
ถูกต้องตามแบบแผน
หลักการด้านการดำเนินการประเมิน
มีข้อมูลน่าเชื่อถือ
ทำงานเป็นทีม
มีความต่อเนื่อง
มีบรรยากาศการทำงานที่ดี
การมีส่วนร่วม
หลักการด้านแนวคิดของการประเมิน
นโยบายมีความชัดเจน
สร้างกระบวนการเรียนร
มีทัศนคติที่ดีต่อการประเมิน
สื่อสารทำความเข้าใจ
กำหนดแนวคิดหลักการร่วมกัน
กระบวนการประเมิน
กระบวนการประเมินแบบสตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam)
การประเมินปัจจัยนำเข้า
การประเมินกระบวนการ
การประเมินสภาพแวดล้อมหรือบริบท
การประเมินผลผลิต
กระบวนการประเมินแบบไทเลอร์(Ralph W. Tyler)
การจัดการเรียนการสอน
การประเมินผลผู้เรียน
วัตถุประสงค์ของโครงการ
กระบวนการประเมินแบบสคริฟเวน (Scriven)
การประเมินผลย่อยหรือการประเมินความก้าวหน้า
การประเมินผลรวมหรือการประเมินผลสรุป เ
วิธีการประเมิน
มุ่งเน้นกระบวนการ
วิธีที่ไม่เป็นทางการ
วิธีการเชิงธรรมชาติ
วิธีการที่เป็นทางการ
วิธีการเชิงระบบ
มุ่งเน้นผู้ประเมิน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติโดยกลุ่มผู้ปฏิบัติงานระดับเดียวกัน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานของผู้บริหารโดยผู้ปฏิบัติงาน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติโดยคณะกรรมการประเมิน
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานโดยเกษตรกรหรือบุคคลเป้าหมาย
วิธีการประเมินการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติโดยผู้บริหาร