Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคความผิดปกติของระบบขับถ่าย - Coggle Diagram
โรคความผิดปกติของระบบขับถ่าย
สรีรวิทยาของระบบไต
ไต มีรูปร่างคล้ายถั่วแดง มีสองข้าง มีสีแดง ยาว 11 ซม. กว้าง 6 ซม. หนา 3 ซม. หนักประมาณ 130 กรัม อยู่ชิดกับผนังหลังช่องท้อง ไตขวาต่ำไตซ้าย 1.5 ซม. ไตมีโพรงอยู่ภายใน
เนื้อในไตแบ่งเป็น 2 ส่วน
Cortex ประกอบด้วย Medulla rays
Medulla ประกอบด้วย Pyramid สลับกับ Renal column
โรคไตเรื้อรัง
โรคไตเรื้อรัง คือสภาวะที่ไตถูกทำลาย
ทำให้เกิด Glomerular sclerosis > เกิด CKD
ทำให้เกิด proteinuria อาจจะเจอโปรตีนในปัสสาวะ > เกิด injurious stimuli tubular cell injury > อาจเกิดอักเสบและ tubular cell > เกิด CKD
เกิด Glomerular injury อาจเกิดจากก้อนเนื้อ เลือด ไปเลี้ยงน้อย ความดัน
โรคไตจากความดันโลหิตสูง
ทำให้เกิดการบาดเจ็บ > ทำให้หลอดหดตัวเกิดการไหลของปัสสาวะแรงขึ้น > หลอดเลือดถูกทำลาย มีความดันใน glomerulus ท่อต่างๆ เกิดการอักเสบขึ้น เนื้อเยื่อเกิดการอักเสบเพราะได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ > เกิดโรคไต
โรคไตวายจากความดันโลหิตสูง
โรคไตจากเบาหวาน
โรคเบาหวานทำให้เกิด glomerulus ทำงานหนักต้องกรองและดูดกลับสารมากขึ้น มีผลทำให้เกิดไตวาย
Henle's loop - มีผนังบาง น้ำถูกดูดซึมออกมา โซเดียมกับยูเรียออกไป
ระยะของไต
ระยะที่ 2 ไตทำงาน 60-89% เริ่มประเมินและชะลอการเสื่อมของไต
ระยะที่ 3 ไตทำงาน 30-59% เพิ่มการดูแลภาวะแทรกซ้อนของไต
ระยะที่ 1 ไตทำงานมากกว่าหรือเท่ากับ 90% = ไตปกติ
ระยะที่ 4 ไตทำงานน้อยกว่า 30% ต้องวางแผนการทำบำบัดทดแทนไต
ระยะที่ 5 ไตทำงานน้อยกว่า 15% เริ่มทำการบำบัดทดแทนไต
ท่อหน่วยไตตอนปลาย - จะดูดซึมน้ำกลับเพิ่มขึ้นโดยอยู่ใต้การควบคุมของ ADH ส่วนโซเดียมถูกดูดกลับ
หน้าที่ของไต
ไตมีหน้าที่สร้างน้ำปัสสาวะ และท่อที่ต่อจาก nephron คือ collecting tubule มีหน้าที่ให้ปัสสาวะข้นขึ้น
หลอดเลือดแดงมี 2 ประเภท
Afferent arteriole หลอดเลือดนำเข้า - นำเลือดเข้าใน glomerulus
Efferent arteriole หลอดเลือดนำออก - นำเลือดสะอาดออก
Proximal convoluted tubule - ท่อส่วนต้นทำหน้าที่ดูดกลับสารที่มีประโยชน์เข้าสู่กระแสเลือด