Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สุขภาพจิตและการพยาบาล - Coggle Diagram
สุขภาพจิตและการพยาบาล
-
บทที่3 ระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช
งานจิตเวชชุมชน ขอบเขตงานและ
บทบาทพยาบาลจิตเวช และ พระราชบัญญัติสุขภาพจิต
ประวัติความเป็นมา
ปี พ.ศ.2485 – 2500 โรงพยาบาลจิตเวช มีจำนวนไม่สัมพันธ์กับผู้ป่วย จึงเริ่มมีการดำเนินการป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพจิต ควบคู่ไปกับการบาบัดรักษา
ปี พ.ศ.2500 - 2514 ได้ขยายบริการที่มีให้สมบูรณ์แบบตามโรงพยาบาล มีการ สร้างโรงพยาบาลและศูนย์สุขภาพจิตขึ้นใหม่หลาย
ปี พ.ศ.2515 - 2534 มีการพัฒนางานสุขภาพจิตให้กว้างขึ้น ในปี 2520 ได้มีการนาแนวความคิด ของการสาธารณสุขมูลฐาน มา พัฒนางานสุขภาพจิต
ปี พ.ศ.2535 - ปัจจุบัน งานสุขภาพจิตได้รับการพัฒนา ให้เป็นสถาบันสุขภาพจิต
-
สุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน
การส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันภาวะเจ็บป่วยทางจิตให้ประชาชน โดยวิธีการป้องกันลดและขจัดสาเหตุท่ีก่อใหเ้กิดความเจ็บป่วยทางจิตป้องกันความพิการและให้การฟื้นฟู
1)การป้องกันระยะแรก/ปฐมภูมิ(Primary prevention)เป็นการลดอัตราการเกิดผู้ป่วยรายใหม่ โดยการขจัดปัจจัยหรือสาเหตุที่มีอิทธิพลที่มีผลนำไปสู่การเกิดปัญหา การป้องกันระดับปฐมภูมิทำโดยลดปัจจัยของการเกิดโรค
ลดปัจจัยเสี่ยง(Risk factors)และเพิ่มปัจจัยป้องกันโรค(Protectivefactors)
2)การป้องกันระยะที่สอง/ทุติยภูมิ(Secondaryprevention)เป็นการดำเนินการเพื่อค้นหาผู้ที่มีปัญหาทางจิตหรือเจ็บป่วยทางจิตเป็นการป้องกันโรคท่ีเริ่มเกิดข้ึนแล้วมิใหเ้ป็นยาวนานโดยช่วยให้บุคคลที่เกิดภาวะวิกฤตให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีเพื่อลดความรุนแรงของโรคเน้นการบำบัดรักษาโรคทางจิตเวชไม่ให้ลุกลามเรื้อรัง
3)การป้องกันระยะที่สาม/ตติยภูมิ(Tertlary prevention)เน้นการฟื้นฟูสภาพผู้เจ็บป่วยทางจิตให้หายหรือทุเลาลงเน้นการป้องกันความพิการอันเป็นผลเนื่องจากการเจ็บป่วยจนสามารถ
กลับไปดำเนินชีวิตในชุมชนได้อย่างเต็มศักยภาพ และป้องกัน การกลับเป็นซ้ำ
-
-