Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเลือกทำเลที่ตั้งและ ลักษณะของเรือนไทย 4 ภาค, เรือนเดี่ยว, s13-8,…
การเลือกทำเลที่ตั้งและ
ลักษณะของเรือนไทย
4 ภาค
การเลือกทำเลที่ตั้ง
ภาคเหนือ
มักสร้างบ้านบริเวณที่ราบลุ่มระหหว่างหุบเขา
เมื่อเมืองขยายตัวมีการจัดการทำ ฝาย
ภาคใต้
มีฝนตกชุกและมีแม่น้ำหลายสาย แต่ก็ไม่นิยมใช้น้ำจากแม่น้ำ เนื่องจากมีน้ำทะเลหนุนแม่น้ำ
มักอาศัยน้ำบ่อ หรือตระพัง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ดินทรายไม่อุ้มน้ำ มีความแห้งแล้ง
บางปีน้ำท่วมใหญ่
มีทั้งที่ราบลุ่ม ใกล้แหล่งน้ำ ที่ดอนมีน้ำซับ ชายป่า
มีการสร้างบ้านเรือนที่แตกต่างกันตามสถานที่
ภาคกลาง
สร้างบ้านเรือนมักสร้างริมแม่น้ำ
สร้างเป็นแนวยาวไปตลอดสองฝั่งลำน้ำ
อุดมสมบูรณ์มีแม่น้ำหลายสาย
ประเภทของเรือนไทย 4 ภาค
เรือนไทยภาคเหนือ
(เรือนกาแล เรือนล้านนา)
มีชายคาลาดต่ำลงมาถึงตัวเรือน มีหน้าต่างน้อย เพราะอากาศหนาว
วางตัวเรือนขวางตะวัน หันตัวเรือนจากตะวันออกไปตะวันตก
เพื่อให้ห้องนอนรับแสงแดด
ยอดปั้นลมนิยมประดับไม้สลักกาแล
มีชานโล่งกว้าง (เติ๋น) ด้านหน้าสร้างร้านน้ำเพื่อวางหม้อน้ำดื่ม
ประตูห้องนอน ประดับ หัมยนต์ (แผ่นไม้ม้สลักลายดอกไม้ใบไม้
เชื่อว่าป้องกันสิ่งชั่วร้ายได้)
หลังคามุงด้วยแผ่นไม้ (แป้นมุง) หรือ หระเบื้องดินเผา (ดินขอ)
นิยมปลูกกันใน จังหวัดเชียงใหม่ ลำพูน และลำนพปิงตอนเหนือ
เรือนไทยภาคอีสาน
(เฮือนอีสาน)
เรือนกึ่งถาวร
แบ่งเป็นเรือนเหย้าเครื่องผูกหรือผสมเรือนเครื่องสับ
เป็นเรือนของเขยที่แยกจากพ่อแม่
อาจแยกเป็นตูบ (เกย) ต่อออกมาจาก เล้าข้าว(ยุ้งข้าว)หรือต่อเพิงออกมา
เรือนดั้งต่อดิน
แข็งแรงกว่าตูบต่อเล้า
นิยมปลูกเป็นเรือนแฝดใต้ถุนสูง มีเรือนไฟและร้านน้ำ
ลักษณธคล้ายเรือนเกย คือเรือนต่อชานมีหลังคาต่อออกจากเรือนใหญ่
เรือนชั่วคราวที่มักสร้างไว้เป็นที่พักชั่วคราวหลบแดด ฝน เรียก "ตูบ"
สร้างไว้ตามคันนา ไว้เฝ้านา เรียก "เถียงนา"
บางเรือนอาจมีเรือนไฟหรือ คอกสัตว์ด้วย
เรือนถาวร
เรือนสับไม้จริง รูปทรงเรียบง่าย หลังคาจั่วมีหน้าต่างบานเล็กๆ
เรือนไทยภาคกลาง
เรือนครอบครัวขยาย
เรื่อนครอบครัวขยายเมื่อลูกแต่งงาน พ่อแม่ สร้างเรือนอยูู่ต่างหาก
อาจอยู่ใกล้ๆกัน หรือ แยกเป็นเอกเทศได้
เรือนคหบดี
เรือนหมู่ขนาดใหญ่ ผู้สร้างมักมีฐานะดี ประกอบด้วย
เรือนใหญ่ เรือนรี เรือนขวาง เรือนครัว หอนก
ทุกเรือนเชื่อมด้วยชานโล่ง กลางลานมักเจาะปลูกต้นไม้ใหญ่ให้ร่มเงา
เรือนครอบครัวเดียว
เรือนขนาดเล็ก มีเรือนนอน 1 หลัง
แบ่งเป็นห้องนอน ห้องโถง เรือนครัว 1 หลัง
เรือนทั้ง 2 เชื่อมต่อกันด้วยระเบียง
ตัวอย่างเรือนภาคกลาง
หอไตร วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร
ตำหนักแดง พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
ตำหนักเขียว วัดเขมาภรตารามราชวรวิหาร
หมู่พระตำหนักเรือนต้น พระราชวังดสิต
หมู่พระตำหนักทับขวัญ พระราชวังสนามจันทร์
เรือนภาคใต้
เรือนไทยพุทธ
ขนาดไใม่ใหญ่ หลังคาจั่ว ไม่ยกพืีนสูง ให้คนเดินผ่านได้
เนื่องจากมีพายุผ่านเสมอ มีชายคายื่นยาว ช่องหน้าต่างน้อย นิยมมุงหลังคาด้วยกระเบื่องดินเผา
พบได้ ชุมพรถึงสงลา
เรือนไทยอิสลาม
สถาปัตยกรรมพื้นบ้านแบบอิสลาม
กำหนดพื้นที่แยก ชาย หญิง
เคลื่อนย้ายไปปลูกที่ใหม่ได้สะดวก
หลังคานิยมสร้าง ทรงจั่ว ทรงปั้นหยา ทรงมนิลา
พบใน ยะลา ปัตตานี นราธิวาส
ลักษณะ เรือนยกพื้นสูง นิยมเอาท่อนไม้หรือหิน หรือปูนหล่อ เป็นฐานรองรับเสาไม้ โดยไม่ได้ยึดติดระหว่างเสา และให้ฐานแข็งแรง นำไม้มาร้อยทะลุเสาเรือนตามแนวยาวเพื่อความมั่นคง
นางสาว ชนันธร จักราชัย
ม 4/1 เลขที่ 33