Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแสดงพื้นบ้านอาเซียนในโซนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซุนดา), 8C021E5D-A87D…
-
-
การแสดงพื้นบ้าน เป็นการแสดงที่แสดงออกถึงการสืบทอดทางศิลปะและวัฒนธรรมของแต่ละท้องถิ่นที่สืบทอดกันต่อ ๆ การแสดงนั้นขึ้นอยู่กับสภาพทางภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม
•การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ ศิลปะการแสดงทางภาคเหนือ เป็นลักษณะศิลปะที่มีการผสมผสานกันระหว่างชนพื้นเมืองชาติต่างๆ ส่วนมากการแสดงพื้นบ้านภาคเหนือจะเป็นการฟ้อน เช่น ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน
•การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง ภาคกลางเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์ การแสดงพื้นเมืองที่สื่อให้เห็นการ
ประกอบอาชีพ เช่น ร่ำกลองยาว เป็นการแสดงเพื่อความรื่นเริง ในขบวนแห่ต่างๆ ของไทยมีผู้แสดงทั้งชาย และหญิง ออกมารำเป็นคู่ๆ โดยมีผู้ตีกลองประกอบจังหวะ พร้อม ฉิ่ง ฉาบ กรับ และโหม่ง
•การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ศิลปะการแสดงภาคอีสาน จะมีลักษณะคล้ายภาคเหนือ แสดงให้เห็นถึง พฤติกรรมของชนพื้นเมืองกับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ เช่น เซิ้งบั้งไฟ เป็นการฟ้อน ในพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และในพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการขอฝน
•การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ เป็นภาคที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาลาเชีย ทำให้เกิดการผสมผสานจากกลุ่มชนหลายเชื้อชาติ จนทำให้นาฎศิลป์และดนตรีในภาคใต้มีลักษณะที่เป็นเครื่องบันเทิงการแสดงที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะ คือมีจังหวะที่ร่งเร้า กระฉับกระเฉง เช่น การร่ำโนราเป็นการแสดงแบบ โบราณนิยมแสดงเพื่อความเป็นสิริมงคล,หนังตะลุง
-
บังสาวัน (Bangsawan) เป็นการแสดงละครร้องเหมือนกับการแสดงโอเปร่าของทางยุโรปเป็นการแสดงที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในสิงคโปร์โดยมีการแสดงประกอบกับการร้องบทละครออกมาเป็นเพลงด้วยตัวของนักแสดงเอง พร้อมกับการเต้นประกอบดนตรี ในท่าทางและอารมณ์ต่างๆตามบทบาทที่ได้รับ สร้างความสนุกสนานให้ผู้ชมเป็นอบ่าฃมาก โดยการแต่งกายจะมีการแต่งกายด้วยเสื้อผ้าสีสันสดใสที่ได้รับอิทธิมากจากประเทศเพื่อนบ้านอย่างมาเลเซีย
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-