Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Gastritis With Moderate Dehydration, นางสาว ธิดารัตน์ ชาวป่า เลขที่…
Acute Gastritis
With Moderate Dehydration
ข้อมูลส่วนบุคคล
เพศชาย อายุ 5 ปี น้ำหนัก 18 กิโลกรัม ปฏิเสธ โรคประจำตัว ปฏิเสธ การเเพ้ยาเเพ้อาหาร
วันที่เข้ารับการรักษาไว้ในโรงพยาบาล 2 พฤศจิกายน 2565
CC: ปวดท้อง อาเจียน 4 ครั้ง หายใจเหนื่อยหอบ ตัวเหลือง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
PI: 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล ปวดท้อง อาเจียน 4 ครั้ง หายใจเหนื่อยหอบ ตัวเหลือง
การตรวจร่างกาย
Vital signs : T 36.8 oC,
PR 108 /min,
BP 116/79 mmHg,
RR 24 /min.
O2 sat 93
% BW 18 kg, Ht. 107 cm.
General appearance : Thai male, 5 years old,
looked weak**
, normal growth and body build, small shape size, black hair, white skin, normal consciousness, good orientation.
Skin :
Yellow skin,
no pallor, no abnormal pigmentation, normal-looked hair and nails, warm and mild moisture skin.
Head : Normal shape and size, no asymmetry, no tenderness, black hair color, no abnormal face.
Eyes: Normal vision, normal eye movement, no ptosis, no exophthalmos, , icteric sclera pupil 3 mm both eye , pupil reaction to light both eye.
Ears : No abnormal mass or lesion, no hearing loss.
Nose : Symmetrical nose, no septal deviation, no visible blockage, inflammation or erosions in the nostrils.
Mouth & throat : No oral lesion, pink buccal mucosa and gingival, no enlarged tonsils, no injected pharynx, normal uvula position and movement.
Neck : No lumps or pain, no goiter, no enlarged glands, trachea in midline.
Heart :, no murmur.
HR=108/min
Lung : Symmetrical thorax, good expansion, normal breath sound (no adventitious sound). Abdomen : Normal size and shape, no distension, active bowel sound, no mass, liver can’t palpation, CVA not tenderness.
Extremities : No deformity, no edema, no cyanosis, normal movement.
Lymph node : No lymphadenopathy.
Neurological : E4M6V5, motor power grade V/V all extremities
การวินิจฉัยเเยกโรค
1.Acute Gastritis
โดยปกติแล้วกระเพาะอาหารจะผลิตกรดเพื่อช่วยในการย่อยอาหารและฆ่าเชื้อก่อโรคที่ปนเปื้อน ซึ่งกรดนี้มีฤทธิ์กัดกร่อน ดังนั้นเซลล์บุกระเพาะอาหารบางส่วนจึงผลิตเมือกป้องกันตามธรรมชาติเพื่อเป็นชั้นเคลือบปกป้องกระเพาะอาหาร โดยปกติแล้วจะมีสมดุลระหว่างปริมาณกรดที่กระเพาะอาหารผลิตขึ้นกับชั้นเคลือบปกป้อง หากสมดุลนี้เปลี่ยนแปลงไปอาจเกิดกระเพาะอาหารอักเสบขึ้นได้ เนื่องจากกรดเข้าทำลายเยื่อบุกระเพาะอาหาร
สาเหตุได้แก่
1.การติดเชื้อแบคทีเรีย Helicobacter pylori (H. pylori)
2.ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ (nonsteroidal anti-inflammatory drugs: NSAIDs)
3.อาหารเป็นพิษ
4การดื่มแอลกอฮอล์ ชา กาแฟ หรือ เครื่องดื่มกาเฟอีน น้ำอัดลม
จากการซักประวัติกับญาติผู้ป่วยไม่ชอบรับประทานข้าว ซึ่งบ่นว่าเบื้ออาหาร เเละจะชอบกินนำ้อัดลมเเทนข้าว
อาการ
จุกแน่นใต้ลิ้นปี่ โดยเฉพาะหลังมื้ออาหาร
2.ปวดแสบท้อง
ปวดท้อง อาเจียน 4 ครั้ง หายใจเหนื่อยหอบ ตัวเหลือง 1 วันก่อนมาโรงพยาบาล
3.อาหารไม่ย่อย
4.คลื่นไส้และอาเจียน
จากการซักประวัติจากญาติ ผู็ป่วยอาเจียน 4 ครั้ง ก่อนมาโรงพยาบาล
5.เบื่ออาหาร
จากการซักประวัติผู้ป่วยบอกว่าเบื่ออาหาร ไม่อยากกินข้าว
ุ6.อาจอาเจียนปนเลือด
ข้อแนะนํา
ผู้ป่วยควรงดบุหรี่ แอลกอฮอล์ ชา กาแฟ หรือ เครื่องดื่มกาเฟอีน น้ำอัดลม และหลีกเลี่ยงการใช้ยา แอสไพริน ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์ อาหารรสเผ็ด จัด เปรี้ยวจัด
สำหรับผู้ที่จำเป็นต้องใช้แอสไพริน และยาต้าน อักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์ ถ้ามีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดแผล ในกระเพาะอาหารและลำไส้ เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ที่ต้องใช้ ยานี้ในขนาดสูงหรือนานๆ หรือใช้ร่วมกับยาสตีรอยด์ ผู้ที่เคยเป็นแผลเพ็ปติกมาก่อนอาจต้องให้ยาป้องกัน
ควรแนะนำผู้ป่วยที่กินยาแอสไพริน หรือยา กลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สตีรอยด์ทุกราย ให้สังเกตสี ของอุจจาระเป็นประจำ ถ้าเป็นสีดำต้องรีบกลับไปพบ แพทย์หรือโรงพยาบาลโดยเร็ว ผู้ป่วยจำนวนมากไม่ทราบ ว่าอาการถ่ายดำเป็นอาการเลือดออกในกระเพาะลำไส้ มักปล่อยให้เลือดออกมากจนมีอาการอ่อนเพลีย ซีด ลม จึงค่อยไปโรงพยาบาล ซึ่งมักจะต้องให้เลือด และ เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนร้ายแรง
ยา
ยา motilium (5 mg/5ml) 5 ml po ac ยาเเก้คลื้นไส้อาเจียน
Paracetamol syrup (120 mg 5 ml) 8 ml po prn q 4 hr ข้อบ่งใช้ เพื่อบรรเทาอาการปวด และลดไข้
2. Moderate dehydration
มีการขาดน้ำ 6-9% ของน้ำหนักตัว Severe dehydration มีการขาดน้ำมากกว่าหรือเท่ากับ 10% ของน้ำหนักตัว โดยมีการประเมินจากลักษณะและพฤติกรรมของผู้ป่วยเด็ก ส่วนของร่างกายที่แสดงให้เห็นอาการ ชัดเจนได้แก่กระหม่อมหน้า ตา ปากและลิ้น การหายใจ ความตึงตัวของผิวหนัง สัญญาณชีพ เป็นต้น
อาการ
กระหายน้ำ
ง่วงซึม อ่อนเพลีย
ผิวแห้ง ตาแห้ง ปากแห้ง
ปัสสาวะน้อยกว่าปกติ
ท้องผูก
มึนหัว วิงเวียน ปวดศีรษะ
สาเหตุ
1.ร่างกายสูญเสียน้ำมากเกินไป ในผู้ป่วยที่มีอาการอาเจียน ท้องเสีย ทำให้ร่างกายสูญเสียน้ำและแร่ธาตุเป็นจำนวนมาก รวมถึงการสูญเสียน้ำผ่านทางบาดแผลที่ผิวหนัง เช่น แผลไฟไหม้ แผลในปาก แผลติดเชื้อที่ผิวหนัง หรือโรคผิวหนังอย่างรุนแรง เป็นต้น
2.ปัสสาวะมากผิดปกติ ในผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ที่ใช้ยาขับปัสสาวะ ยาความดันโลหิต หรือผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก
3.เหงื่อออกมากผิดปกติ จากการออกกำลังกายเป็นเวลานาน ผู้ที่ทำงานในสถานที่ที่มีอากาศร้อนชื้น หรือในผู้ที่มีไข้สูง
4.ดื่มน้ำน้อยเกินไป โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการโคม่า ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ รวมถึงผู้ที่มีอาการป่วย เป็นหวัด หรือเจ็บคอ ทำให้รู้สึกเบื่ออาหารและดื่มน้ำน้อยลง
การรักษา
พยายามให้บุตรหลานดื่มน้ำบ่อย ๆ หรือรับประทานไอศกรีมหวานเย็นเพื่อเป็นการชดเชยน้ำในร่างกาย
ดื่มผงละลายเกลือแร่ (Oral Rehydration Solution: ORS) ในกรณีที่ยังชดเชยน้ำในร่างกายได้ไม่เพียงพอ
หลีกเลี่ยงการดื่มน้ำผลไม้ น้ำอัดลม หรือน้ำหวานที่มีปริมาณน้ำตาลสูง
หากทำกิจกรรมอยู่ควรหยุดพัก ถอดเสื้อผ้าชิ้นที่ไม่จำเป็นออก นั่งหรือนอนพักใต้ร่มไม้หรือในตัวอาคารบริเวณที่มีอากาศถ่ายเท และยกเท้าให้สูงขึ้น
ดื่มน้ำเปล่าเพื่อเป็นการชดเชยน้ำในร่างกาย หรือเครื่องดื่มเกลือแร่ สามารถซื้อจากร้านสะดวกซื้อหรือทำเองได้ที่บ้าน โดยใช้เกลือ ½ ช้อนชา น้ำตาล 6 ช้อนชา ผสมกับน้ำเปล่า 1 ลิตร ควรใช้เครื่องมือที่ได้มาตรฐานและผสมตามสัดส่วน เพราะหากได้รับน้ำตาลหรือเกลือมากเกินไป อาจทำให้เกิดอันตราย และไม่ควรใช้เครื่องดื่มเกลือแร่ที่ผสมเองที่บ้านกับเด็กที่มีอายุต่ำกว่า 12 ปี
ยา
ORS เด็ก จิบบ่อยๆ 10 ซองใช้สำหรับการชดเชยการสูญเสียน้ำจากการอาเจียน หรือท้องเสีย
3. Food Poisoning
ที่ไม่ใช่เพราะว่าลักษณะโรคนี้จะมีอาการถ่ายอุจจาระเป็นน้ำและปวดมวนท้องรุนแรงเป็นส่วนใหญ่ บางครั้งมี
คลื่นไส้ อาเจียน
เป็นไข้หนาวสั่นและปวดหัว
บางครั้งมีอาการคล้ายเป็นบิด
ถ่ายอุจจาระปนเลือดหรือมูก ไข้สูง
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการเเละตรวจพิเศษ
CBC
cbc Hct 34 % ตำ่
cbc WBC1ุ6,780 Cell/mm3 สูง
INDICES MCV 72 fl ตำ่
MCH 24.5 pg ตำ่
cbc PMN 81 % สูง
cbc Lymph 16 % ตำ่
cbc PLT Count 425,000 cell/mm3 สูง
Electrolyte
TCO2 17 mmol/L ตำ่
Creatinine 0.24 mg/dl ตำ่
ค่า Tco2 ตำ่เกิดจากผู้ป่วยไม่ชอบรับประทานออาหาร จึงอยู่ในสภาวะอดอาหาร เพราะจะมีผลทำให้กลูโคสในเลือดมีระดับลดลง การเผาผลาญของเซลล์จึงทำงานน้อยลง และเป็นผลต่อเนื่องทำให้คาร์บอนไดออกไซด์ซึ่งเป็นของเสียจากการเผาผลาญมีน้อยลงไปด้วย
ค่า Creatinine ตำ่ เกิดจากอาจบริโภคอาหารประเภทโปรตีนต่ำเกินไป ร่างกายอาจมีมวลกล้ามเนื้อทั่วร่างกายน้อยกว่าปกติอยู่ก่อน เช่น จากโรคกล้ามเนื้อลีบ (Muscular dystrophy), โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรงชนิดร้ายแรง (Myasthenia gravis) อาจเกิดจากอาการอ่อนแรงและไม่ใคร่จะเคลื่อนไหวร่างกาย (Debilitation)
นางสาว ธิดารัตน์ ชาวป่า เลขที่ 48 ห้อง 4A
รหัสนักศึกษา 62106301050 กลุ่ม 6A