Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร,…
แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การบริหารองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
องค์กรเเห่งการเรียนรู้
ลักษณะสำคัญ
มีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต
มีการเรียนรู้จากผู้อื่น
มีการทดลองปฏิบัติ
มีกรถ่ายทอดควมรู้
มีการเเก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
องค์กรเเห่งความสุข
การแก้ปัญหาและการสร้างบรรยากาศ การทำงานส่งเสริมและพัฒนาการกษตรอย่างสร้างสรรค์
ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านสังคม เกษตรกรรม
ด้านนักบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรส่งเสริมการเกษตร หมายถึง หน่วยงาน กลุ่ม หรือองค์กรต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตร เพื่อพัฒนชีวิตความเป็นอยู่ของเกษตรกร
แนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ความหมาย องค์ประกอบ และลักษณะความคิดสร้างสรรค์
กระบวนการของความคิดสร้างสรรค์
การฟักตัว
การประจักษ์
การเตรียมการ
การพิสูจน์ให้เห็นจริง
ลักษณะของผู้มีความคิดสร้างสรรค์
รู้สึกไวต่อปัญหา
ความคล่องในความคิด
ความคิดริเริ่ม
ยืดหยุ่นในความคิด
เเรงจูงใจ
ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่สู่ความคิดใหม่ๆ ที่เคยมีมาก่อน แบ่งได้ 4 ประเภท
ความคิดคล่องตัว/ความพรั่งพรูในความคิด
ความคิดยืดหยุ่น/ความยืดหยุ่นในความคิด
ความคิดริเริ่ม
ความคิดละเอียดละออ
ประเภทของความคิด
ความคิดเเบ่งตามขอบเขตความคิด
ระบบปิด
ระบบเปิด
ความคิดเเบ่งโดยอาศัยสิ่งเร้า
ความคิดเเบบโยงความสัมพันธ์
ความคิดแบบวิเคราะห์
ความคิดแบ่งตามความสนใจของนักจิตวิทยา
การคิดหาเหตุผล
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดรวบยอด
ความคิดประเภทสัมพันธ์
การฝัน
การสร้างวิมานในอากาศ
การคิดเกี่ยวกับเรื่องส่วนตัว
การคิดอิสระ
การคิดที่ถูกควบคุม
ความคิดโดยตรงที่ใช้ในการเเก้ปัญหา
การคิดเชิงวิจารณ์
ความคิดสร้างสรรค์
ทักษะการคิดเชิงระบบ
การคิดเชิงวิพากษ์
การคิดเชิงวิเคราะห์
การคิดเชิงอนาคต
การคิดเชิงสังเคราะห์
การคิดเชิงบูรณาการ
การคิดเชิงเปรียบเทียบ
การคิดเชิงกลยุทธ์
การคิดเชิงมโนทัศน์
การคิดเชิงประยุกต์
การคิดเชิงสร้างสรรค์
เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
สร้างความคิดใหม่
ระดมพลังสมอง
กล้าที่จะริเริ่ม
คิดจากสิ่งที่คุ้นเคยไปสิ่งที่เเปลกใหม่
องค์ประกอบของการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เนื้อหาสาร
สื่อหรือช่องทางการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร
การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการสื่อสารในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเลือกสื่อ
สื่อบุคคล
สื่อกิจกรรม
สื่อวิทยุ
สื่อวิทยุกระจายเสียง
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อสังคม
การใช้สื่อ
วิธีการนำเสนอไปใช้ตามลักษณะกลุ่มเป้าหมาย
การนำสื่อไปใช้เพื่อการเผยเเพร่สารนเทศ
การสร้างสื่อ
การกำหนดเป้าหมายเเละจุดมุ่งหมาย
การเลือกและการนำเสนอสื่อ
การเตรียมเนื้อหาเเละข่าวสาร
ดำเนินการผลิตสื่อ
การสำรวจปัญหา และ/หรือ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
การทดลองใช้สื่อกับกลุ่มเป้าหมาย
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
การปรับปรุงสื่อที่พัฒนาขึ้น
เป้าหมายในการบริหารการส่งเสริมเเละพัฒาการเกษตร
การเผยเเพร่สื่อ
การสื่อสารเป้าหมายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดเป้าหมาย
การกำหนดเป้าหมายรายอาทิตย์-รายเดือน
การกำหนดเป้าหมายระยะยาว
การกำหนดเป้ามายระยะสั้น
ลักษณะเป้าหมายที่ดี
"SMART"
S=ลักษณะเฉพาะเจาะจง ไม่ระบุให้กว้างเกินไป
M=ควรวัดได้เป็นตัวเลข ประเมินค่า และใช้ติดตามผลได้
A=ระบุสิ่งที่จะทำ นำไปสู่การกำหนดกิจกรรมรองรับได้ชัดเจน
R=เป้าหมายที่ดีต้องมีความท้าทา
T=มีกรอบระยะเวลาที่ชัดเจน เเน่นอน กำหนดไว้
การสื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้าหมายของการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความเร้าใจของเป้าหมาย
แนวทางในการบรรลุเป้าหมาย
การสื่อสารที่ดีจึงควรสื่อสารด้วยข้อความที่เข้าใจง่าย
ลงทุนเพื่อให้ถึงเป้าหมาย
ข้อความที่สื่อต้องง่ายแต่มีความหมายลึกซึ้ง
องค์ประกอบการสื่อสารระหว่างบุคคล
การป้อนกลับ
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร
การเข้ารหัสเเละการถอดรหัส
สาร
ช่องทางการื่อสาร
ผลของการสื่อสาร
สิ่งรบกวนหรืออุปสรรคการสื่อสาร
กรอบประสบการณ์ร่วม
บริบททางการสื่อสาร
กระบวนการสื่อสาร
happy workplace
happy relax
happy money
happy body
happy brain
happy hart
happy soul
happy family
happy society
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
ผู้เฝ้าประตูข่าวสาร
บริบทการสื่อสาร
ผู้รับสาร
ช่องทางสื่อ
สาร ลักษณะเด่น 3 ประการ
ผู้ส่งสาร
learning organization
กฏข้อที่ 3 : การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม
กฏข้อที่ 1: ทักษะในการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
กฏข้อที่ 5 : ความคิดเชิงระบบ
กฏข้อที่ 2 : โลกทัศน์
กฏข้อที่ 4 : การเรียนรู้ของทีม
ขั้นตอนการเเก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
1.การเข้าถึงปัญหา
2.ความคิดวิธีการแก้ปัญหา
3.การเลือกและเตรียมการ
4.การวางแผนการเเก้ปัญหา
5.การลงมือปฏิบัติ
หน่วยที่ 8 91727
การนำความคิดสร้างสรค์มาใช้เพื่อการสื่อสารในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร