Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
หน่วยที่ 10
กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย
และการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
สภาพทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย
สภาพทางสังคมและวัฒนธรรม
ลักษณะเฉพาะของกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา
สังคมนอกภาคเกษตร
สังคมแรงงานอุตสาหกรรม
สังคมธุรกิจบริการ
ชุมชนแออัด
สังคมนักธุรกิจผู้ประกอบการ
สังคมกลุ่มเยาวชนและนักเรียนนักศึกษา
สังคมเกษตรกร
เกษตรกรผู้เช่าที่ดิน
เกษตรกรผู้เป็นลูกจ้างภาคเกษตร
เกษตรกรที่มีที่ดินเป็นของตัวเอง
สรุปสภาพสังคมและวัฒนธรรมโดยรวมของประเทศ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
สภาพสังคมวัฒนธรรมปัจจุบัน
สภาพสังคมวัฒนธรรมแบบดั้งเดิมของไทย
สภาพสังคมและวัฒนธรรมที่พึงปรารถนาเพื่อการพัฒนา
สภาพทางเศรษฐกิจ
องค์ประกอบของรายได
ครอบครัวกลุ่มประชากรเป้าหมาย
รายได้ครัวเรือน
สภาพทางการเมืองการปกครอง
แนวความคิดการกระจายอำนาจการปกครอง
บทบาทหน้าที่ของประชาชนในการปกครองท้องถิ่น
รูปแบบการปกครองที่เกื้อหนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน
บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของภาครัฐ
ในทางการเมืองการปกครอง
บทบาทในด้านการร่วมมือประสานงานกัน
บทบาทในด้านการใช้อำนาจกำกับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวความคิดด้านการกำหนดนโยบายทางการบริหาร
ความสามารถและศักยภาพของผู้นำทางการเมือง
การมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรประชาชน
สภาพการดำเนินงานขององค์กรภาครัฐในปัจจุบัน
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
หลักมนุษยสัมพันธ์เพื่อการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
หลักการทำให้ผู้อื่นเข้าใจตัวเราในทางที่ดี
หลักการเข้าใจในธรรมชาติของมนุษย์
หลักการเข้าใจในบุคคลอื่นและการเข้าใจในตนเอง
ปัญหาอุปสรรคการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ปัญหาด้านการบริหารจัดการ
ปัญหาทางธรรมชาติและสภาพแวดล้อม
ปัญหาด้านบุคคล
แนวทางการขจัดปัญหาอุปสรรคในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
การศึกษาทำความเข้าใจผู้อื่น
การศึกษาทำความเข้าใจในสภาพแวดล้อม
การปรับปรุงตนเอง
การศึกษาหลักวิธีการสร้างมนุษยสัมพันธ์
หลักการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทางยุทธศาสตร์
หลักการสื่อสาร
หลักการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หลักการพัฒนาชุมชน
หลักการสร้างมโนธรรม
วิธีเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
วิธีทางอ้อม
วิธีการแทรกแซง
วิธีทางตรง
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาชุมชน
แนวคิดชุมชน
ปรากฏการณ์ชุมชน
ขอบเขตทางภูมิศาสตร์
การจัดระเบียบทางสังคม
ชุมชนเป็นระบบสังคม
ชุมชนเป็นเครือข่ายของการปฏิสัมพันธ์
ชุมชนเป็นกลุ่มทางสังคม
ชุมชนเป็นหน่วยทางจิตวัฒนธรรม
ประชากร
แนวคิดการมองชุมชนแบบองค์รวม
การศึกษาชุมชน หมายถึง กระบวนการศึกษาเกี่ยวกับชุมชนในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านกายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม อย่างรอบด้าน และเป็นองค์รวม
ความสำคัญของการศึกษาชุมชน
เกิดการเรียนรู้สถานการณ์ชุมชนร่วมกัน
สร้างความเข้าใจร่วมกัน
เพื่อให้การทำงานของนักส่งเสริมหรือการพัฒนาชุมชนสอดคล้องกัน
ตื่นตัวและใส่ใจการพัฒนา
ช่วยให้นักส่งเสริมเข้าใจถึงระบบคิดของเกษตรกรและเข้าใจวิถีชุมชน
แนวคิดการศึกษาชุมชน
ตามแนวคิดทางสังคมวิทยา
ชุมชนในฐานะเป็นตัวแปรอิสระ
การศึกษาชุมชนตามแนวคิดทางกลุ่มทฤษฎีสังคมวิทยา
ชุมชนในฐานะเป็นตัวแปรตาม
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
ข้อสมมติฐานเบื้องต้น
อรรถประโยชน์เพิ่มและกลไกราคา
การตลาด
การผลิตและการบริโภค
แนวคิดหลักในการศึกษาชุมชนแนวเศรษฐศาสตร์
ระบบการแลกเปลี่ยนของชุมชน
ระบบการตลาดของชุมชน
ระบบการผลิตของชุมชน
ระดับเศรษฐกิจของชุมชน
ตามแนวคิดนิเวศวิทยาการเกษตร
ข้อสมมติฐานเบื้องต้น
ขอบเขตระดับนิเวศ
สมดุลในระบบนิเวศ
แนวคิดหลักในการศึกษาชุมชน
รูปแบบระบบกายภาพและชีวภาพของชุมชน
รูปแบบระบบเกษตรกรรมของชุมชน
หลักการในการศึกษาชุมชน
ปรากฏการณ์ทางสังคมเป็นปรากฏการณ์ที่มีความสลับซับซ้อน
สังคมถูกสร้างและกำหนดโดยคนในสังคมนั้นๆ
ปรากฏการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงสังคมและวัฒนธรรม
ขอบเขตของการศึกษาชุมชน จะเป็นชุมชนที่มีลักษณะเป็นกลุ่มบ้าน หมู่บ้าน กลุ่มหมู่บ้าน หรือตำบล หรือชุมชนในลักษณะอื่น ๆ
วัตถุประสงค์ของการศึกษาชุมชน
เพื่อทราบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงชุมชน
เพื่อทราบปัญหาของชุมชนและแนวทางในการแก้ปัญหานั้น
เพื่อทราบลักษณะและประเภทของชุมชน
เพื่อวางแผนพัฒนาการเกษตรชุมชน
ประเภทของการศึกษาชุมชน
การจำแนกตามวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การจำแนกตามจำนวนผู้กระทำการศึกษา
การจำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การจำแนกตามทัศนะของผู้ศึกษา
การจำแนกตามเนื้อหาของข้อมูลที่จะนำไปใช้
การจำแนกตามกลุ่มบุคคลที่มีบทบาทในการศึกษา
การจำแนกตามวัตถุประสงค์ของการนำความรู้ไปใช้
กระบวนการศึกษา วิเคราะห์และวินิจฉัยชุมชน
กระบวนการศึกษาชุมชน
แนวคิด
การตั้งสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน
การสังเกตปรากฏการณ์
การสรุปผลเป็นกฎและทฤษฎี
ขั้นตอน
รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ
เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ
กำหนดวิธีการและแผนการศึกษาชุมชน
รประมวลผล ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
เตรียมทีมงานและเตรียมความพร้อมของชุมชน
วินิจฉัยชุมชนและจัดลำดับความสำคัญ
กำหนดชุมชนที่จะศึกษา
จัดทำยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาชุมชน
ศึกษา แนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
จัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน
กำหนดวัตถุประสงค์ในการศึกษาชุมชน
กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน
การวิเคราะห์ระบบการเกษตร
ประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรของชุมชน
วิเคราะห์การใช้ที่ดิน
ความต้องการผลผลิตทางการเกษตรของชุมชน
การวิเคราะห์การรับจ่าย
ปริมาณและมูลค่าการนำสินค้าเข้าจากนอกชุมชน
ปริมาณเงินทุนสะสมภายในหมู่บ้าน
ปริมาณและมูลค่าการส่งสินค้าออกภายนอกชุมชน
ปริมาณการลงทุนด้านต่าง ๆ ภายในชุมชน
ปริมาณและมูลค่าการบริโภคภายในชุมชน
ปริมาณการลงทุนภาครัฐภายในชุมชน
ปริมาณและมูลค่าการผลิตในชุมชน
การวิเคราะห์หาความจำเป็นพื้นฐานของชุมชน
ด้านรายได้
ด้านจริยธรรม
ด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ด้านความรู้ด้านการเกษตร
ด้านการสาธารณสุขพื้นฐาน
ด้านที่อยู่อาศัย
ด้านการศึกษาพื้นฐาน
ด้านอาหาร
การวิเคราะห์บทบาทหญิงชายเพื่อวางแผนการพัฒนา
กำหนดทรัพยากรและผลประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรม
บทบาทของหญิงและชาย ที่เข้าถึงและควบคุมทรัพยากรและผลประโยชน์ในการดำเนินกิจกรรม
ศึกษาบทบาทหญิงและชายที่มีการกระทำตามกิจกรรมนั้นว่ามีบทบาทการกระทำอย่างไร
หาความต้องการในการกระทำบทบาทของหญิงและชาย ทั้งในด้านบทบาทเดิม และการปรับบทบาท
กำหนดกิจกรรมหลักของครัวเรือนในชุมชน ด้านการผลิต การทำนุบำรุงรักษาและการเลี้ยงดู
การวิเคราะห์ทางสังคม
ด้านประชากร
ความเท่าเทียมในสังคม
การวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจของชุมชน
การวิเคราะห์ความยากจน
การวิเคราะห์โครงสร้างทางเศรษฐกิจชุมชน
การวิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีและแพร่กระจายนวัตกรรมการเกษตร
ศึกษาการใช้เทคโนโลยีของฟาร์มแต่ละระดับในระบบเดียวกัน
ศึกษาข่ายงานการสื่อสารของกลุ่มเพื่อน การรับนวัตกรรมที่ผ่านมา โดยใช้มาตราวัดสังคมมิติ
ประเมินประสิทธิภาพการดำเนินงานด้าน แรงงาน ที่ดิน และทุน
นำผลการวิเคราะห์ใช้ในการจัดกิจกรรมกลุ่มเรียนรู้
จำแนกระบบการทำฟาร์มชนิดเดียวกัน ออกเป็นระดับผลผลิตสูง ปานกลาง ตํ่า
กระบวนการวินิจฉัยชุมชน
การวินิจฉัยชุมชน มีจุดเน้นที่การค้นหาปัญหาที่สำคัญและสาเหตุของปัญหานั้น รวมถึงระบุถึงความต้องการของชุมชน เพื่อนำไปกำหนดทางเลือกที่เหมาะสมเพื่อการตัดสินใจและวางแผนในการพัฒนาชุมชนต่อไป
ลักษณะของการวินิจฉัยชุมชน
การวินิจฉัยชุมชนโดยคนในชุมชนเอง
การวินิจฉัยชุมชนโดยบุคคลภายนอกที่เป็นแรงเสริมและสนับสนุนประชาชน
ขั้นตอนในกระบวนการวินิจฉัยชุมชน
วินิจฉัยสาเหตุของปัญหาและความต้องการของชุมชน
วินิจฉัยแนวทางในการแก้ไขปัญหาและความต้องการของชุมชน
ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
วินิจฉัยความสามารถในการแก้ไขปัญหาและความต้องการของชุมชน
วิธีการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหต
การเลือกหัวข้อปัญหาโดยพิจารณาตามตัวชี้วัดการประเมิน
การวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
การศึกษาชุมชนกับงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและการประยุกต์ผลการศึกษาชุมชน
ปัจจัยสู่ความสำเร็จและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคของการศึกษาชุมชน
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
ด้านระบบวิธีการทำงาน
ด้านบุคลากร
ด้านการพัฒนาแนวคิด
ด้านการเสริมหนุนจากภายนอก
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค
การพัฒนาเกี่ยวข้องกับบุคคลหลายกลุ่ม
การกำหนดระยะเวลาการทำงานไม่เหมาะสม
การเปลี่ยนแปลงผู้รับผิดชอบพื้นที่รับผิดชอบงาน
การเกิดความไม่มั่นใจของสมาชิก
การไม่ให้ความสำคัญกับแผนพัฒนาของภาคี
การขัดแย้งในผลประโยชน์
การประยุกต์ผลการศึกษาชุมชน
การสร้างปฏิสัมพันธ์อันดีกับเกษตรกรและชุมชน
การวางแผนพัฒนากลุ่ม องค์กรชุมชน
การเป็นเครื่องมือในการที่บุคคลภายนอกและกลุ่มบุคคลในชุมชนที่จะทำการศึกษาชุมชนร่วมกัน
การพัฒนาในระดับปฏิบัติการของหน่วยงานต่าง ๆ
การกำหนดกลุ่มบุคคลเป้าหมาย
การกำหนดวิธีการ เนื้อหาและสื่อ
การแก้ปัญหาเฉพาะพื้นที
การนำไปพัฒนางานศึกษาวิจัยที่ต่อเนื่อง
การวางแผนพัฒนากลุ่ม องค์กร
การพัฒนานโยบาย
การนำไปเป็นข้อมูลของหน่วยงานในการวางแผนการพัฒนาชุมชน
การใช้ประโยชน์จากการศึกษาชุมชน
ในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประโยชน์ในระหว่างกระบวนการศึกษาชุมชน
ทำให้เห็นศักยภาพของคน
เป็นเครื่องมือในการรู้จักตนเองและเป็นเครื่องมือในการพัฒนา
เกิดการปรับความคิด ทัศนคติคลี่คลายปมอันเป็นความสัมพันธ์ที่ไม่ราบรื่นของการทำงานร่วมกัน และเกิดเป็นพลังร่วม พลังเสริม และพลังขับเคลื่อน
การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมทำให้สมาชิกตื่นตัวมาขับเคลื่อนการแก้ปัญหาร่วมกัน
ทำให้สมาชิกและทุกภาคส่วนเกิดการพัฒนาตนเอง
ทำให้เกิดการพัฒนาอย่างรอบด้านทุกมิติอย่างสมดุล
ประโยชน์จากผลการศึกษาชุมชนในระดับต่าง ๆ
ระดับปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่
ระดับท้องถิ่น
ระดับนโยบาย
ระดับชุมชน
ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาชุมชน
ในงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัญหาการดำเนินงานแบบสหวิทยาการ
ความไม่พอเพียงของเจ้าหน้าที่แต่ละสาขา
การบูรณาการแต่ละสาขา
การมองต่างมุมทางทฤษฎีส่งเสริมการเกษตร ระหว่างแนวให้การศึกษากับแนวสังคมวิทยาและการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
การอธิบายปรากฏการณ์ยอมรับของเกษตรกร
ตัวแปรหลักในการศึกษาและวิเคราะห์