Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการตรวจสอบ Inspection Process, B6219796 นายสุรทิน ภูฆัง - Coggle…
กระบวนการตรวจสอบ Inspection Process
Inspection Standard (มาตรฐานการตรวจสอบ)
หลักการตรวจสอบแบบสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
Inspection Standard/มาตรฐานการตรวจสอบ
จุดสำคัญที่เราต้องเน้นในการตรวจสอบ
ลำดับจุดสำคัญในการตรวจสอบชิ้นส่วน (Parts) และวัสดุ (Material)
ลำดับจุดสำคัญในการตรวจสอบผลิตตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป (Sub-Assy) และผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป (Assy)
คํานิยาม:การตีความจาก Inspection Standard
Screen : หมายถึงการพบชิ้นส่วนที่ไม่ได้คุณภาพปะปนอยู่ในกลุ่มของดี
Rework : หมายถึงการพบชิ้นส่วนที่ไม่ได้คุณภาพอาจเป็นทั้ง Lot หรือบางส่วนแต่ไม่รุนแรงจึงสามารถนำไป Rework เพื่อนำไปใช้งานได้
Scrap : หมายถึงชิ้นงานนั้นไม่สามารถใช้งานได้ ต้องทำลายทิ้งเป็น Scrap เท่านั้น
MRB (Material review Board Acceptance) : หมายถึงการนำเอาชิ้นส่วนที่ไม่ได้คุณภาพ แต่พิจารณาขั้นต้นแล้วว่าไม่รุนแรงไม่น่าจะมีผลกระทบต่อการติดตั้ง
Reject : หมายถึงการ Out of Specification ทั้งกรณี Variation และ Attribute ให้ให้รการตัดสินใจว่าจะทำขั้นใดต่อ
UseAsIs : หมายถึงการพบชิ้นส่วนที่ไม่ได้คุณภาพปะปนอยู่ในกลุ่มของดีแต่ไม่รุนแรงและไม่กระทบต่อการติดตั้งและเคยมีผลพิจารณาเป็นบันทึกมาแล้วว่าให้ใช้งานได้ตามปกติ
วิธีการตรวจสอบในกระบวนการตรวจสอบ
Sub-Assy จะได้รับการตรวจสอบที่ In-process Inspection
Assy จะได้รับการตรวจสอบที่ Final Inspection
Parts & Mat. จะได้รับการตรวจสอบที่ Receive Inspection
วิธีการลงข้อมูลใน Inspection record
ลงมิติและสมรรถนะต่างๆที่วัดได้ให้ตรงกับหัวข้อที่กำหนด
ใส่ Disposition of lot และลงชื่อผู้ตรวจสอบและผู้ Approved
ใส่ข้อมูลการผลิตเช่น Lot.no. , Inspected Q’ty ฯ
กรณี Dispositionoflot ไม่ใช่ Ac ให้ลงรายละเอียดที่ดำเนินการ
ลงหัวข้อของ Inspection record ให้สัมพันธ์กับ Inspection Std.
กระบวนการที่ทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ในโรงงาน
Material Processing/นำวัสดุมาแปรรูป , Sub-Assy /ผลผลิตภัณฑ์กึ่งสำเร็จรูป จะได้รับการตรวจสอบที่ In-process Inspection
Assy/ผลติภัณฑ์ จะได้ร้บการตรวจสอบท่ี Final Inspection
Material & Parts/วัตถุดิบและชิ้นส่วน จะได้รับการตรวจสอบที่ Receive Inspection
Inspection Monthly Status Report
เพื่อใช้ดูระดับคุณภาพของการผลิต (%RejectLot)
เพื่อใช้เป็น TraceRecord&Identification ของงานที่มีการปรับปรุงแก้ไขโดยผู้ผลิต (Maker) จากการ RejectLot
เพื่อใช้เป็นข้อสรุปของรายงานประจำเดือนแยกเป็นบริษัท
กระบวนการตรวจสอบ (Inspection Process)
การตรวจสอบในกระบวนการผลิต (In-Process Inspection)
การตรวจสอบสุดท้ายก่อนส่งมอบลูกค้า (Final Inspection)
ตรวจสอบวัสดุ-ชิ้นส่วนขาเข้า (Receiving Inspection)
การสุ่มตัวอย่าง (Random Sampling)
ขั้นตอนการเริ่มต้นใช้วิธีการสุ่มตรวจสอบแบบ Mil-Std-105E
วิธีการปรับระดับการ Random Sampling
ตรวจทุกชิ้นแบบ 100%
การชักตัวอย่าง
ไม่ต้องตรวจสอบเลย โดยรับชิ้นงาน/ผลิตภัณฑ์ มาจากประวัติของผู้ผลิตดี
การ Sampling Inspection by Attributes
การ Sampling Inspection by Attributes
ใช้กับข้อมูลที่เป็นการบ่งบอกถึงคุณสมบัติ (ดี-เสีย)
การ SamplingInspectionbyVariable ให้ยึดถือตามจำนวนที่กำหนดใน InspectionStd. ของแต่ละบริษัท เป็นสำคัญ
ประเภทของแผนการชักตัวอย่าง
ตารางมาตรฐาน มอก. 645-2527
ระดับการตรวจสอบและขนาดตัวอย่าง
ระดับ II (ปกติ)
ระดับ I (ผ่อนปรน)
ระดับ III (เข้มงวด)
Background
ปี 1924 วอลเตอร์ แอนดริว ชิวว์ ฮาร์ท หัวหน้าวิศวกรของบริษัท Bell Telephone คือต้นตํารับของผู้คิดค้น P-D- S-A Cycle และ Control chart เป็นผู้อธิบายถ่ายทอดสิ่งที่เขาได้คิดค้นให้ วิลเลียมเอ็ดเวิดส์ เดมมิ่ง ได้รับรู้เป็นคนแรก ถึงวิธีการทำงานแบบ P-D-S-A cycle & การใช้ Control chart และผลงานของท่านยังเป็นต้นเหตุความรู้ของการเกิดทฤษฎีการ RandomSampling
วิธีการใช้ตารางเปรียบเทียบการ Random Sampling 10-1
P-Chart : Proportion Defective Control Chart
[แผนภูมิควบคุมสัดส่วนของเสียเมื่อตรวจสอบแบบ 100%]
การบันทึกของจํานวนของเสีย
การบันทึกปัญหาและการแก้ไข
Sporadic Problem : ปัญหาจุกจิกเล็กๆน้อยๆ แก้ไขได้ด้วยตนเอง และใช้เวลาไม่เกิน 24Hr.
Chronic Problem : ปัญหาเรื้อรัง แก้ไขยากต้องใช้เวลาเกิน 24Hr. หรือต้องให้แผนกอื่นแก้ไข
ส่วนประกอบของ P-Chart
การสรุปจํานวนและ(%)ของเสียด้วย Pareto
พาเรโต : แท่งที่ใช้แสดงจำนวนความผิดปกติทางคุณภาพ , โครงสร้างต้นทุน , ผลทางการตลาด หรืออื่นๆ โดยแยกตามผลลัพธ์ เหตุการณ์หรือสาเหตุและจัดเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย
P-Chart คืออะไร
คือ ControlChart ชนิดหนึ่ง ได้จากข้อมูลการทดสอบแบบคุณสมบัติ (Control Chart for Attribute) จากการตรวจสอบผลิตภัณฑ์แบบ 100% จำแนกผลิตภัณฑ์ออกเป็นประเภท “ดี” หมายถึงได้มาตรฐาน หรือ “เสีย”หมายถึงไม่ได้มาตรฐาน
B6219796 นายสุรทิน ภูฆัง