Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia), นางสาวอรพรรณ จันทร์เหลา C1 หรัวนักศึกษา…
ภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia)
ความหมาย
ภาวะที่ทารกแรกเกิดไม่สามารถหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพเป็นผลให้ขาดสมดุลของการแลกเปลี่ยนก๊าซทำให้มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ (Hypoxia) มีการคลั่งของคาร์บอนไดออกไซด์ (Hypercapnia) และมีสภาพความเป็นกรดในกระแสเลือด
พยาธิสรีรภาพ
เมื่อทารกมีภาววะขาดออกซิเจนร่างกายไม่สามารถดูดซึมออกซิเจนเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดได้ ทำให้มีปริมาณออกซิเจนในกระแสเลือดต่ำ ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนเลือดในร่างกาย โดยมีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญที่สุดในร่างกายก่อน คือ สมอง หัวใจและต่อมหมวกไต ส่วนอวัยวะอื่นๆจะมีเลือดไปเลี้ยงน้อยลง ทำให้มีการเปลี่ยนแปลง อัตราการเต้นของหัวใจและการหายใจ
อาการและอาการแสดง
ระยะตั้งครรภ์
ทารกมีการเคลื่อนไหวมากกว่าปกติและต่อมาจะมีการเคลื่อนไหวน้อยลงกว่าปกติ FHS มากกว่า 160 ครั้งต่อนาที
ระยะคลอด
พบขี้เทาปนในน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอด
APGAR ต่ำกว่า 7
ไม่หายใจ ตัวนิ่ม อ่อนปลวกเปียก หัวใจเต้นช้า ปฏิกิริยาลดลง
การเปลี่ยนแปลงในปอด
Preterm : RDS
Term : PPHN
หายใจหอบ ตัวเขียว
การเปลี่ยนแปลงของระบบหัวใจและหลอดเลือด
หายใจแบบมี gasping
หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตต่ำ
ผิวซีด
มี metabolic aciosis
อุณหภูมิร่างกายต่ำ
การเปลี่ยนแปลงในระบบประสาท
ซึม หยุดหายใจบ่อย หัวใจเต้นช้าลง ม่านตาขยายกว้างไม่ตอบสนองต่อแสง
ไม่มี Doll's eye movement และมักเสียชีวิต
มีการเปลี่ยนแปลงในสมองเรียกว่า Hypoxic ischemia encephalopathy
การเปลี่ยนแปลงในระบบทางเดินอาหาร
เสี่ยงต่อการสำลักน้ำขี้เทาเข้าปอด Preterm :NEC
การเปลี่ยนแปลงเมตาบลิซึม
น้ำตาลในเลือดต่ำ
แคลเซียมและโปแทสเซียมสูง
อาจชักได้
การเปลี่ยนแปลงระบบทางเดินปัสสาวะ
ปัสสาวะน้อยลง
ไม่ถ่ายปัสสาวะ
ปัสสาวะเป็นเลือด
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ABG ผิดปกติ คือ PaCO2 > 80 mmHg, PaO2 <40 mmHg, pH < 7.1
ระดับน้ำตาลในเลือด 30 mg%
ค่าของ calcium ในเลือดต่ำกว่า 8 mg%
ค่าของ potsssium ในเลือดสูง
การวินิจฉัย
ประวัติการคลอด
การตรวจร่างกาย การประเมินคะแนน APGAR
อาการและอาการแสดง
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การรักษาจำแนกตามความรุนแรงของการขาดออกซิเจน
mild asphyxia ให้ความอบอุ่น ทำทางเดินหายใจให้โล่ง กระตุ้นการหายใจ ให้ออกซิเจนผ่านสายออกซิเจนหรือ mask ถ้าอาการดีขึ้นทมีคะแนน APGAR ที่ 5 นาที มากกว่าหรือเท่ากับ 8 คะแนน
Moderate ให้ออกซิเจน 100% ช่วยหายใจด้วย mask และ bag เมื่อดีขึ้นใส่ teeding tube เพื่อดูดลมออก ถ้าไม่ดีขึ้นหลังช่าย 30 วินาที ใส่ ET Tube และนวดหัวใจ
Severe ช่วยหายใจทันทีโดยใส่ ET Tube และช่วยหายใจด้วยออกซิเจน 100% ผ่าน bag ร่วมกับนวดหัวใจ ถ้าไม่ดีขึ้รรักษาด้วยยา
การพยาบาล
เตรียมบุคลากร เครื่องมือให้พร้อมก่อนคลอดในรายที่มารดามีภาวะเสี่ยงหรือมีอาการที่หน้าสงสัยว่าจะเกิดภาวะ Birth asphyxia
ดูดสิ่งคัดหลั่งให้มากที่สุดก่อนคลอดลำตัว
เช็ดตัวทารกให้แห้งทันทีหลังคลอดและห่อตัวรักษาความอบอุ่นของร่างกาย เพื่อลดการใช้ออกซิเจน
บันทึกอัตราการหายใจ การเต้นของหัวใจทารกภายหลังคลอด
สังเกตอาการขาดออกซิเจน
ดูแลให้ได้รับการตรวจทางห้องปฎิบัติการและได้รับยาตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำตามแผนการรักษา
ดูแลทำความสะอาดร่างกาย
ดูแลให้ได้พักผ่อน
ส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
นางสาวอรพรรณ จันทร์เหลา
C1 หรัวนักศึกษา 62102301140