Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 7 การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 7 การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกับองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการทางการเกษตร
ประเภทหรือสาขาของผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
สาขาพืช
สาขาปศุสัตว์
สาขาประมง
สาขาป่าไม้
สาขาบริการทางการเกษตรและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องอื่นๆ
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ที่ดินทางการเกษตร หรือพื้นที่ทำการเกษตร
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
ประชากรและแรงงานภาคเกษตร
แหล่งทุนของเกษตรกร
สารเคมี ปุ๋ย ยา และเวชภัณฑ์เกษตร
เครื่องจักรกล เครื่องมือ และอุปกรณ์การเกษตร
แหล่งพลังงาน
กระบวนการทางการเกษตร
การผลิต
การแปรรูป
การกำหนดและรับรองมาตรฐาน
การขนส่งและการคลังสินค้า
การตลาด
การวิจัยและพัฒนา
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์โลก
ด้านเศรษฐกิจ
กฎ กติกาด้านการค้า
ความผันผวนของเศรษฐกิจ
ด้านสังคม
ประชากรโลกมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุของโลก
ด้านความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม
สภาวะความมั่นคงทางอาหาร และพลังงานของโลก
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และภัยคุกคามทางธรรมชาติ
กระแสอนุรักษ์นิยม และความนิยมธรรมชาติ
ด้านการบริหารจัดการ
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ การจัดทำข้อตกลง และพันธกรณีต่าง ๆ ระหว่างประเทศ หรือระดับภูมิภาค
การเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ภายในประเทศ
ด้านเศรษฐกิจ
มีภูมิคุ้มกัน
เสถียรภาพด้านการคลังและการเงิน
ศักยภาพทางเศรษฐกิจต้องพึ่งพาภาคบริการและเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ด้านสังคม
การเปลี่ยนแปลงของสภาวะทางสังคม
ความก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
ความเหลื่อมล้ำทางรายได้ของประชากรภาคเกษตร
ด้านความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังเสื่อมโทรม
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ และการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ภาวะโลกร้อน
พึ่งพาพลังงานจากต่างประเทศสูง
มีความมั่นคงทางอาหาร และมีศักยภาพด้านการผลิตพืชพลังงาน
ด้านการบริหารจัดการ
การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ
การน้อมนำปรัชญญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
ระบบ ทิศทาง และผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
โครงสร้างการจัดการองค์การในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรหรือหน่วยงานภาครัฐ
ราชการบริหารส่วนกลาง
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
องค์กรภาคเอกชน
องค์กรภาคประชาชน
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดกลยุทธ์
การนำยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ
การติดตามและประเมินผล
ทิศทาง และผลการดำเนินงานในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ทิศทางการบริหาร
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
การเสริมสร้างและพัฒนาขีดความสามารถในการทำงานโดยการปรับปรุงรูปแบบ และวิธีการบริหารให้เป็นการจัดการแงงองค์รวม
การเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคีหรือหุ้นส่วนการพัฒนา
การพัฒนาระบบการบริหารงานเทคโนโลยีสารสนเทศภาคเกษตรและสหกรณ์
การจัดการความเสี่ยงที่มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นและมีผลกระทบหรือความเสียหายต่อการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมการทำการเกษตรกรรมที่สมดุลและยั่งยืน
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
การพัฒนาขีดความสามารถการบริหารจัดการสินค้าเกษตร
การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์
การดำเนินนงาน
โครงสร้างการจัดองค์กรการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการเกษตรกรรม
การส่งเสริมความร่วมมือและข้อตกลงระหว่างประเทศ
ผลการดำเนินงาน
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ขยายตัวร้อยละ 1.7 ต่อปี ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือร้อยละ 3 ต่อปี
ผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร มุ่งเน้นความเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจการเกษตร และการยกระดับรายได้ของเกษตรกรให้สูงขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตภาคเกษตร (แรงงาน ที่ดิน ทุน และผลิตภาพการผลิตทางการเกษตร)
ผลการพัฒนาด้านการเกษตรตามแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
ความผาสุกของเกษตรกร เพิ่มขึ้นอยู่ที่ระดับ 78.28 สูงกว่าฉบับที่ 10
การเจริญเติบโตภาคเศรษฐกิจภาคเกษตร GDP เฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ1.33 ต่อปีต่ำกว่าเป้าหมายคือ ร้อยละ 3ต่อปี
พื้นที่การเกษตรได้รับการบริหารจัดการ
ขยายพื้นที่ชลประทานได้ต่ำกว่าเป้าหมาย
ทรัพยากรดินที่ได้รับการบริหารจัดการสูงกว่าเป้าหมาย
พื้นที่ทำการประมงและแหล่งอาศัยสัตว์น้ำได้รับการบริหารจัดการสูงกว่าเป้าหมาย
ปัจจัยเสี่ยงและข้อจำกัดในการพัฒนาการเกษตร
ด้านเศรษฐกิจ รายจ่ายเพิ่มขึ้น การออมลดลง
ด้านสังคม เกษตรกรเข้ารวมกลุ่มลดลง
ด้านความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
การพัฒนาระบบบริหารงาน แลัการปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นปัญหาในด้านระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านโครงสร้างการจัดองค์การ
ประสบปัญหาการอำนวยการและประสานงานให้เกิดเอกภาพและมีประสิทธิภาพ
ด้านกระบวนการ
เป็นการนำนโยบายการพัฒนาำปปฏิบัติให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับสภาพปัญหาที่จะต้องแก้ไขและศักยภาพในการพัฒนาของแต่ละพื้นที่
ประเด็นศักยภาพ
กำหนดแนวทางการปรับปรุงรูปแบบและวิธีการบริหารงานพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมให้เป็นการบริหารแบบบูรณาการหรือแบบองค์รวม
แนวคิดในการพัฒนาระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพทันกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์
การพัฒนาองค์ประกอบของการเกษตรกรรม
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นปัญหาที่จะต้องแก้ไขและศักยภาพหรือโอกาสที่จะพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ประเด็นจากการวิเคราะห์เพื่อกำหนดแผนพัฒนาการเกษตรในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
การพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้มีความพร้อมที่จะผลักดันการขับเคลื่อนแผนการพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ
การพัฒนาการบริหารจัดการภาครัฐ
การบูรณาการเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างแผน เพื่อเกิดการเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ แผนงาน โครงการ งบประมาณ
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาบ และกฎระเบียบ
การสร้างความรู้และความเข้าใจให้แก่ภาคีที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
การสร้างความร่วมมือจากภาคีที่เกี่ยวข้อง
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากร หรือปัจจยการผลิตทางการเกษตร
การพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนการเกษตรกรรม
เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าตลอกโซ่อุปทาน
การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันภาคเกษตรด้วยเทคโนโลยีและนวัฒกรรม
บริการจัดการทรัพยากรการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาจากนโยบายของรัฐบาล
ประเด็นจากหลักการปฏิรูปการเกษตรของประเทศ
การปฏิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาระบบการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ส่งเสริมแนวทางในการกำหนดรูปแบบ
การส่งเสริมให้นำแนวคิดทางการบริหารสมัยใหม่มาเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการกำหนดยุทธศาสตร์และการนำไปปฏิบัติ
การส่งเสริมให้นำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสร้างความก้าวหน้าในกระบวนการบริหารงานปละในกระบวนการหรือขั้นตอนการเกษตรกรรม
การส่งเสริมการจัดการความรู้ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรสำหรับภาคีฟรือหุ้นส่วนการพัฒนา
การพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ภาคีหรือหุ้นส่วนการพัฒนา
กาส่งเสริมการทำการเกษตรที่สมดุลและยั่งยืน
การพัฒนากระบวนการเกษตรกรรม
การส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาในทุกกระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ มูลค่าให้แก่สินค้า
การส่งเสริมให้นำการตลาดมาขับเคลื่อนการพัฒนาการเกษตร
การพัฒนาองค์ประกอบอิ่น ๆ ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การส่งเสริมให้เป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สามารถสร้างความมั่นคงทางอาหารและผลิตพืชพลังงานทดแทน
การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์และรายได้ของเกษตรกร
ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการปฎิรูปแนวทางการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ระบบหรือรูปแบบและวิธีการบริหาร
การพัฒนาองค์กรด้านโครงสร้างการจัดองค์การ ให้เป็นโครงสร้างการบริหารงานแบบบูรณาการ
การกำหนดรูปแบบการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคีการพัฒนา
การกำหนดวิธีการเชื่อมโยงการทำงานของทุกภาคีการพัฒนา เป็นการยึดหลักการพัฒนาเชิงพื้นที่
การพัฒนาองค์กรด้านกระบวนการผลิตให้เป็นกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์
ให้ความสำคัญของการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา โดยการบูรณาการ หรือเชื่อมโยงแนวความคิด สรรพกำลัง และทรัพยากร
การเตรียมความพร้อมที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และสภาพแวดล้อม
ปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ความพร้อมของปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
ทำเลที่ตั้งของพื้นที่ทำการเกษตรและกิจกรรมต่อเนื่องอยู่บริเวณเดียวกัน หรือใกล้เคียงกับแหล่งปัจจัยการผลิต
การมีปริมาณ และคุณภาพของปัจจัยการผลิตทางการเกษตรที่เพียงพอและเหมาะสม
การอนุรักษ์และพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตร
กำหนดให้มีแผน และขั้นตอนการอนุรักษ์และพัฒนาปัจจัยการผลิตทางการเกษตรไว้อย่างชัดเจน
การใช้ประโยชน์อย่างประหยัด คุ้มค่า
กระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรม
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่เหมาะสมกับวัตถุประสงค์
การพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนของการเกษตรกรรมที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ระดับโลก และระดับประเทศ
การส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาทั้งด้านปัจจัยการผลิตทางการเกษตร กระบวนการหรือขั้นตอนและองค์ประกอบอื่นๆ
การติดตามตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่มีผลต่อการบริหารงาน เพื่อพัฒนากระบวนการหรือขั้นตอนให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง
การส่งเสริมและพัฒนาคุณลักษณะเชิงพฤติกรรมของภาคีการพัฒนา
ผู้บริหารของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้นำภาคประชาชน
เกษตรกร และประชากรภาคเกษตร
ผู้ที่ได้รับผลจากการดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร