Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 5 องค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle…
หน่วยที่ 5 องค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิกเกี่ยวกับองค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญ
องค์กรพัฒนา...หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลที่ร่วมกันทำงานให้บรรลุเป้าหมาย
ความสำคัญ
เป็นศูนย์กลางในการรวมปัญหาและความต้องการของประชาชน
เป็นแหล่งความรู้ ข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีและทรัพยากรบุคคล
ทำให้การดำเนินงานในชุมชนและการส่งเสริมและการพัฒนาการเกษตรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทและบทบาท
ประเภทขององค์กรพัฒนา
องค์กรพัฒนาของรัฐ
องค์กรพัฒนานอกภาครัฐ
องค์กรชุมชนหรือองค์กรประชาชน
องค์กรเอกชน
องค์กรอื่นๆ
ประชารัฐ
ประเภทขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรภาครัฐ
จัดตั้งโดยมี พรบ. กฎหมาย กฎ ระเบียบ เป็นตัวกำหนดจัดตั้ง
องค์กรภาคเอกชน
ไม่ได้จัดตั้งโดยรัฐบาล มิได้ดำเนินการในฐานะเป็นเครื่องมือของรัฐ
องค์กรภาคประชาชน
ดำเนินการโดยภาคประชาชน
บทบาท
ขึ้นอยู่กับนโยบาย เป้าหมาย เงื่อนไขแต่ละองค์กรพัฒนา
ทฤษฎีสวัสดิการ
ทฤษฎีความหลากหลาย
ผู้ประกอบการเพื่อสังคม
ทฤษฎีประชาสังคม
ผลกระทบ
การเรียนรู้ของบุคคลเป้าหมาย
การมีส่วนร่วม
การพึ่งตนเอง
การสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน
การพัฒนานโยบายการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์กรพัฒนากับกระบวนทัศน์ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมายและความสำคัญของกระบวนทัศน์
การรวบรวมของฐานคิดที่อาจเป็นทฤษฎี แนวความคิด แนวทางที่สามารถอธิบายปรากฏการณ์และทำความเข้าใจกับปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น
ความสำคัญ
เป็นกรอบแนวคิด แนวทางอันนำไปสู่การกำหนด วิธีคิดวิธีปฏิบัติและการให้คุณค่าสิ่งต่าง ๆ ของบุคคลในสังคม
กระบวนทัศน์ที่เหมาะสม
เน้นหนักแนวคิดพัฒนาอย่างยั่งยืนที่เป็นกรอบรวมแนวคิดการพัฒนาไว้หลาย ๆ แนวคิดควบคู่กับกระบวนทัศน์หลัก
กระบวนทัศน์กับกลยุทธ์และกลไกในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนทัศน์กับกลยุทธ์
กระบวนทัศน์หลัก
การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานด้านการเกษตร
เร่งรัด พัฒนา และส่งเสริมพืชเศรษฐกิจ เพื่อการส่งออก
ส่งเสริมการผลิตให้ได้ปริมาณตามเป้าหมายของประเทศ
ส่งเสริมและสนับสนุนปัจจัยการผลิต
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
ส่งเสริมสนับสนุนการประสานงานด้านการตลาด
ปรับปรุงโครงสร้างและระบบการผลิต
สนับสนุนให้ภาคธุรกิจเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม
พัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการผลิตเชิงธุรกิจ
พัฒนาสถาบันเกษตรกร
ส่งเสริมการเกษตรแบบอุตสาหกรรม
ส่งเสริมการเกษตรแบบครบวงจร
สนับสนุนสินเชื่อแก่เกษครกรเพื่อการผลิต
สนับสนุนการจัดการที่ดิน
การประกันราคาสินค้าเกษตรหรือแทรกแซงราคาตลาด
กระบวนทัศน์ทางเลือก
ให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางของการส่งเสริมการเกษตร
ส่งเสริมการผลิตและธุรกิจเกษตรในระบบเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริมการเกษตรในระบบเกษตรกรรมยั่งยืน
พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมจากการวิจัย
ส่งเสริมอุตสาหกรรมเกษตรในระดับครอบครัวและชุมชน
ส่งเสริมการรวมกลุ่มและสร้างเครือข่าย
พัฒนาระบบส่งเสริมการเกษตรจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่การสร้างและสนับสนุนกระบวนการเรียนรู้ของชุมชน
ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของเกษตรกรและภาคีต่างๆ
ปรับปรุงหลักสูตรในสถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเกษตรและส่งเสริมการเกษตร
กระบวนทัศน์กับกลไก
กลไกที่เหมาะสมของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในระดับต่างๆ
ระดับกระทรวงและกรม
ระดับกระทรวง
ผลิตนโยบายและเป้าหมายการส่งเสริมการเกษตรเป็นรายสินค้าของ พืช สัตว์ ประมง
ระดับกรม
องค์กรด้านการจัดทำแผนส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
คณะกรรมการจัดทำแผนกลยุทธ์
ระบบส่งเสริมและพัมนาการเกษตร
ระดับพื้นที่หรือภูมิภาค
คณะกรรมการบูรณาการ
คณะกรรมการประสานงานวิจัยและส่งเสริมการเกษตร
องค์กรส่งเสริมการเกษตร
ระดับท้องถิ่น
คณะกรรมการบริหารศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีประจำตำบล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เกษตรกรและองค์กรเกษตรกรในระดับตำบลและหมู่บ้าน
ข้าราชการที่ทำงานในท้องถิ่น
ระดับพื้นที่เฉพาะ
ระดับจังหวัด
คณะอนุกรรมการพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ของจังหวัด
ระดับอำเภอ
คณะกรรมการระดับอำเภอ แจ่งตั้งโดยคณะอนุกรรมการฯ ระดับจังหวัด
ระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
คณะทำงานระดับพื้นที่ (ศบกต. กม. อกม.)
ระดับชุมชน
ผู้จัดการพื้นที่
การเสริมสร้างประสิทธิภาพขององค์กรพัฒนาในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์พัฒนา
กระบวนการ
การวินิจฉัยสถานการณ์
การแสวงหาเทคนิควิธีการเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็ง
การบริหารองค์กรพัฒนา
การติดตามและประเมินผล
องค์กรพัฒนากับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การวิเคราะห์จุดอ่อนของชุมชน
ด้านโครงสร้าง
ด้านวัฒนธรรม
ลักษณะความเข้มแข็งของชุมชน
สมาชิกชุมชนมีความเชื่อมั่นว่า ตนและคนในชุมชนสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของตนเอง
สมาชิกชุมชนรักที่จะพึ่งพาตนเอง
สมาชิกชุมชนเลือกผู้นำชุมชน
มีการตัดสินใจและทำงานร่วมกันในชุมชนอย่างต่อเนื่อง
สมาชิกชุมชนมีส่วนร่วมประเมินศักยภาพปัญหาของชุมชน
สมาชิกชุมชนเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนเองและชุมชน
มีแผนของชุมชนในการพัฒนาทุกด้าน
การพึ่งภายนอกเพื่อให้ชุมชนพึ่งตนเองได้
มีเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนอื่น
ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ยุทธศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นพัฒนา
การเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนาโดยสมาชิกในสังคม
เป้าหมายการพัฒนาเน้นที่การมีชีวิตที่ดี
ให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมชุมชนและภูมิปัญญาชาวบ้าน
พัฒนาโดยยึดพื้นฐานความเป็นชุมชน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชน
การวิเคราะห์สถานการณ์
การวางแผน
การดำเนินงานตามที่วางไว้
การติดตามประเมินผล
หน้าที่ขององค์กรพัฒนาในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สนับสนุนการวิเคราะห์สถานการณ์ชุมชน
ส่งเสริมและสนับสนุนผู้นำชุมชนในการจัดเวทีการมีส่วนร่วมในการวางแผน
สนับสนุนและส่งเสริมโดยการประสานงานภายในและภายนอกชุมชน
ช่วยวิเคราะห์แผนงานของชุมชนและจัดสรรทรัพยากร
แนะนำและสนับสนุนการจัดการระบบติดตามและประเมินผล
รายงานผลต่อสมาชิกชุมชนและองค์กรที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาต่อไป
การรวมกลุ่มเพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
เกิดจากการที่ภาครัฐไม่สามารถตอบสนองความต้องการหรือปัญหาได้
เกิดจากความต้องการที่จะช่วยเหลือสังคมของกลุ่มคนต่าง ๆ
เกิดจากการที่รัฐเริ่มกระจายอำนาจและยอมรับการรวมกลุ่มขององค์กรต่าง ๆ
ลักษณะการรวมกลุ่ม
การรวมตัวกันของบุคคลที่มีความสนใจเหมือนกัน
การรวมตัวกันเพื่อปกป้องผลประโยชน์
การรวมตัวกันขององค์กรนอกภาครัฐ
หลักการและขั้นตอนในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
ความหมาย
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงองค์กรให้มีความสามารถในการดำเนินการได้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยต่าง ๆ
วัตถุประสงค์
เพื่อให้องค์กรสามารถอยู่รอด และบรรลุเป้าหมาย
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจ และเพิ่มพูนขีดความสามารถ
เพื่อสร้างความพร้อมและความคล่องตัวในการแก้ปัญหา
เพื่อกระตุ้มให้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
เพื่อให้องค์กรดำเนินการตามแผนที่กำหนด
เพื่อสร้างระบบการทำงานร่วมกันอย่างมีคุณภาพ
หลักการเสริมสร้างประสิทธิภาพองค์กร
เน้นกระบวนการพัฒนาส่งเสริมทรัพยากรณ์มนุษย์
ประสานเป้าหมายและตอบสนองเป้าหมายร่วมกัน
ดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
พัฒนาการทำงานเป็นทีม
สร้างบรรยากาศที่ดีมนองค์กร
ใช้วิธีผสมผสาน
มีแม่แบบที่ต้องการ
ขั้นตอนการเสริมสร้างประสิทธิภาพองค์กร
กำหนดแม่แบบขององค์กรพัฒนาที่มีประสิทธิภาพ
วิเคราะห์ปัญหาและความจำเป็นขององค์กรพัฒนา
สำรวจข้อมูลที่เกี่ยวข้องขององค์กรพัฒนา
ยืนยันผลที่ได้
กำหนดกลยุทธ์ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
กำหนดแผนปฏิบัติการ
ปฏิบัติตามแผน
ประเมินผลและรายงาน
วิธีและเงื่อนไขความสำเร็จในการเสริมสร้างประสิทธิภาพ
วิธีการเสริมสร้างประสิทธิภาพองค์กรพัฒนา
วิธีการเสริมสร้างทรัพยากรบุคคล
การฝึกอบรม
การบรรยาย
การประชุมอภิปราย
การสาธิต
การระดมความคิด
การศึกษากรณีตัวอย่าง
การทดสอบ
การศึกษาดูงาน
การวิเคราะห์และพัฒนาตนเอง
การฝึกทักษะเฉพาะ
การให้คำปรึกษา
การสอนงาน
การหมุนเวียนงาน
การสร้างทีมงาน
การประชุม
การรายงาน
การจูงใจ
วิธีการเสริมสร้างองค์กรพัฒนา
จัดโครงสร้างองค์กร
การออกแบบงานให้เหมาะสม
การเลือกสรรบุคลากรอย่างมีคุณภาพ
กำหนดเวลาทำงานแบบยืดหยุ่น
ความพร้อมของเครื่องมือ
การสำรวจข้อมูลและป้อนข้อมูลย้อนกลับ
การวิจัยแก้ปัญหา
กรสร้างองค์กรแม่แบบ
พันธมิตรขององค์กร
สร้างระบบงานที่มีคุณภาพ
สร้างระบบการสื่อสารที่ดี
ระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสม
สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
สร้างแรงผลักดันให้องค์กร
การบริหารทรัพยากรอย่างมีคุณค่า
เงื่อนไขความสำเร็จในการเสริมสร้างประสิทธิภาพองค์กรพัฒนา
ความรู้ความสามารถและความตั้งใจจริงของฝ่ายบริหาร
ความพร้อมและความตั้งใจจริงของฝ่ายปฏิบัติ
การสนับสนุนเอื้ออำนวยขององค์กร
ความเหมาะสมสอดคล้องกับปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การใช้เทคนิคและวิธีการดำเนินการอย่างเหมาะสม
การดำเนินการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
การมีระบบข้อมูลที่เป็นประโยชน์
การมีระบบที่ปรึกษาสนับสนุน