Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
IUGR (Intrauterine Growth Retardation) ภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า -…
IUGR (Intrauterine Growth Retardation)
ภาวะทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า
ทารกมีการคาดคะเนน้ำหนัก น้อยกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 10
เมื่อเทียบกับกับประชากรในกลุ่มเดียวกัน ณ อายุครรภ์นั้นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับทารกที่อายุครรภ์เดียวกัน
แบ่งออก 2 กลุ่มดังนี้
Symmetrical FGR
ทารกเจริญเติบโตช้าแบบได้สัดส่วน
พบได้ประมาณร้อยละ 20 ของทารกจะเจริญเติบโตช้าตั้งแต่ครรภ์อ่อนจำนวนเซลล์ลดลงในทุกส่วนของร่างกายทุกอวัยวะ
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง จะพบค่าต่ำกว่าเกณฑ์ขั้นต่ำในอายุครรภ์นั้นๆ
ความกว้างของศีรษะ (biparietal diameter: BPD)
เส้นรอบวงศีรษะ (head circumference: HC)
เส้นรอบท้อง (abdominal circumference: AC)
ความยาวกระดูกต้นขา (femur length: FL)
Asymmetrical FGR
ทารกที่มีการเจริญเติบโตช้าแบบไม่ได้สัดส่วน
พบได้ประมาณร้อยละ 80 ทารกจะเจริญเติบโตช้าในไตรมาสที่สามของการตั้งครรภ์ซึ่งมีผลต่อขนาดของเซลล์มากกว่าจำนวนเซลล์
อัตราการเจริญเติบโตของส่วนท้อง (AC)
จะช้ากว่าส่วนศีรษะ (HC)
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
Symmetrical FGR
ส่วนใหญ่เกิดจากตัวทารกเอง (Intrinsic factor)
การได้รับรังสี โดยเฉพาะในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ์ซึ่งเซลล์จะมีการแบ่งตัวอย่างรวดเร็ว รังสีสามารถทำลายเซลล์โดยตรง
ภาวะทุพโภชนาการ หรือสตรีมีครรภ์
นน.<45 kg./นน.ไม่เพิ่มขึ้นขณะตั้งครรภ์
สภาพแวดล้อม เช่นสตรีมีครรภ์ที่อาศัยอยู่ในภูมิประเทศที่สูงทำให้ทารกในครรภ์มีภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ยาและสิ่งเสพติด
ยาป้องกันชัก เช่น dilantin
ยาลดความดันโลหิต เช่นpropanolol
บุหรี่สุรา สารเสพติด เช้น เฮโรอิน โคเคน
ทารกในครรภ์ที่มีความผิดปกติของโครโมโซมเช่น trisomytrisomy 13-18 หรือ 21, Turner's syndrome
ทารกพิการแต่กำเนิดโดยเฉพาะที่มีความพิการของระบบหัวใจและหลอดเลือด
การติดเชื้อของทารกในครรภ์เช่นrubella,Cytomegalovirus ,herpes virus,hepatitis
Asymmetrical FGR
ส่วนใหญ่เกิดจากโรคของมารดาและรกทำให้เกิดการลดลงของเลือดที่ไปยังมดลูกและรกทำให้มีการส่งผ่านสารอาหารและออกซิเจนลดลง ทารกจะปรับตัวโดยลดเลือดส่วนที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายในที่ไม่จำเป็นลง เช่น ตับ ไต และลำไส้แต่เลือดยังไปเลี้ยงสมองคงเดิม
ทำให้ศีรษะมีการเจริญเติบโตปกติตับมีขนาดเล็กลงเนื่องจากมีการลดลงของปริมาณไกลโคเจนที่สะสมในตับทำให้เส้นรอบท้องลดลง
สตรีมีครรภ์เป็นโรคหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสูง โรคของระบบภูมิคุ้มกัน โรคเบาหวานทำให้ขนาดของหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงมดลูกเล็กลง ทำให้ปริมาณการไหลเวียนเลือดไปยังทารกลดลง
สตรีมีครรภ์เป็นโรคเกี่ยวกับเม็ดเลือดแดงในการจับออกซิเจน เช่น โรคโลหิตจาง โรคหัวใจที่มีภาวะเขียว โรคธาลัสซีเมีย
สตรีมีครรภ์เป็นโรคไตเรื้อรัง มีการสูญเสียโปรตีนออกทางปัสสาวะ infarcted placenta, chronic abruption Circumvallate placenta ทำให้อาหารและออกซิเจนมาเลี้ยงทารกลดลง
ภาวะครรภ์แฝด
ความผิดปกติของรกและสายสะดือ
การประเมินและการวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจครรภ์ขนาดของมดลูก
< อายุครรภ์ 3 เซนติเมตรขึ้นไป
ชั่งน้ำหนักของสตรีมีครรภ์ พบว่าน้ำหนักเพิ่มขึ้นน้อย หรือไม่มีการเพิ่มขึ้นของน้ำหนัก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC, BUN, Cr, HBsAg,
VDRL, Anti-HIV และ TORCH titer
การตรวจพิเศษ ด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การวัดสัดส่วนของทารกเจริญเติบโตช้า
ได้สัดส่วน
(HC/AC ratio) < 1
ไม่ได้สัดส่วน
(HC/AC ratio) > +2SD
อัตราส่วนของความยาวกระดูก femur ต่อเส้นรอบท้อง FL/AC ratio > 24 %
การตรวจดูระดับการเสื่อมของรก (placental grading)
ถ้ารกอยู่เกรด 3 ในระยะต้นของไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ แสดงว่าอาจเกิดภาวะ FGR