Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Acute Subarachnoid Hemorrhage (SAH) ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง,…
Acute Subarachnoid Hemorrhage (SAH)
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นกลาง
พยาธิสภาพ
เมื่อหลอดเลือดดำที่สมองฉีกขาดจะทำให้เกิดการไหลซึมเข้าสู้ช่องว่างในชั้น Subarachnoid เลือดที่ออกจะระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมอง และเนื้อเยื่อประสาทเกิดปฏิริยาการอักเสบ มีความดัน ในกระโหลกศีรษะสูง และเลือดไปเลี้ยงสมองลดลง เลือดที่ออกเบียดเนื้อเยื่อสมอง มีการสร้าง granulation tissue และรอยแผลเป็นที่เยื้อหุ้มสมอง ร่วมกับไม่สามารถดูดซึมน้ำไขสันหลังกลับไม่ได้หมด จึงเกิดภาวะ hydrocephalus ตามมา อาจพบเนื้อสมองตาย
CT Brain no hydrocephalus
หมายถึง
การมีเลือดออกที่ตำแหน่งระหว่างเยื่อหุ้มชั้น arachnoid และ pia ซึ่งติดกับผิวสมอง มักเกิดจากแรงกระเทกและทำให้เลือดออกในหลอดเลือดบริเวณฐานสมองไปยัง Subarachnoidหลอดเลือด circle of Willis เป็นบริเวณที่เห็นว่ามีรอยแตก
Pt. ประสบอุบัติเหตุรถล้ม(17/10/65)มีแผลบาดเจ็บที่บริเวณ ศีรษะด้านขวาส่วน frontal
Pt. ชายไทยวัยผู้ใหญ่ตอนปลาย
CC: อุบัติเหตุ ศีรษะกระแทก หมดสติ 1 ชม.ก่อนมาโรงพยาบาล
Pl: 1 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยขับรถมอเตอร์ไซค์ไปรับลูกสาว ไม่ได้สวมหมวกกันน็อค ประสบอุบัติเหตุสุนัขตัดหน้ารถ เสียหลักล้ม ศีรษะกระแทกพื้น หมดสติไม่รู้สึกตัว กู้ภัยนำตัวส่งโรงพยาบาลซีจีเอชสายไหม
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงและเกิดขึ้นทันทีทันใด Acute onset of severe headache
อาจจะหมดสติหรือไม่หมดสติก็ได้
ผู้ป่วยมีประวัติศีรษะกระแทกหมดสติ1ชม ก่อนมาโรงพยาบาล
ตรวจร่างกายพบ stiffness of neck ซึ่งอาจจะต้องแยกแยะจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ความรู้สึกตัวลดลง
มีภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากมีภาวะเลือดออกในชั้น subarachnoid
SD: ผู้ป่วยให้ประวัติว่า 1ชมก่อนมาโรงพยาบาล ประสบอุบัติเหตุรถจักรยานยนต์ล้ม ศีรษะกระแทกพื้น ไม่ได้สติ
OD: CT brain พบ subarachnoid hemorrhage
จัดท่านอนหัวสูง 15 -30 องศา เพื่อระบายเลือดและน้ำไขสันหลังให้กลับเข้าสู่หัวใจและไขสันหลัง
ประเมินอาการทางระบบประสาท Neuro signs
ประเมินสัญญาณชีพโดยเฉพาะความดันโลหิตBP Pulse RR เพื่อสังเกตอาการของภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
จัดท่าคอตั้งตรงเพื่อป้องกัน jugular vein ถูกกด เพื่อให้เลือดที่คั่งในสมองไหลกลับเข้าสู่หัวใจได้
ดูแลให้ผู้ป่วยไม่มีอาการท้องผูกลดการเบ่งถ่ายเพื่อป้องกันการเพิ่มความดันโลหิตในกะโหลกศีรษะ
รูม่านตาตอบสนองต่อแสงช้า
Rt. 2mm. Reactact to right
Lt. 3mm Reactact to right
ชีพจรเต้นเร็ว
ความดันโลหิตสูงขึ้น
การตรวจวินิจฉัย
การซักประวัติ
ซักประวัติลักษณะอาการที่เกิดขึ้น ลักษณะการกระแทก ระดับความรู้สึกตัวตั้งแต่เกิดเหตุจนถึงปัจจุบัน
Pt. MC ล้ม ศีรษะกระแทกพื้น สลบไม่รู้สึกตัวตัว1ชม. ก่อนมาโรงพยาบาล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทั่วไป การตรวจทางระบบประสาท การตรวจวินิจฉัยแยกโรคของการบาดเจ็บที่ศรีษะ เช่น ภาวะเนื้อเยื่อขาดออกซิเจน การตรวจทางระบบประสาท ได้แก่ ประเมินความรู้สึกตัวการตอบสนองต่อแสงของรูม่านตา การเคลื่อนไหวของลูกตา การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ได้แก่การตรวจเลือด และการตรวจปัสสาวะ การถ่ายภาพรังสี การตรวจด้วยคอมพิวเตอร์ การตรวจด้วยขึ้นแม่เหล็กไฟฟ้า การตรวจคลื่นไฟฟ้าที่สมอง
CT Brain NC พบ Acute Subarachnoid Hemorrhage
17/10/65 ที่โรงพยาบาล ซีจีเอช สายไหม
การรักษา
1.Craniotomy remove blood clot การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะเอาก้อนเลือดออก
2.Craniotomy aneurysm clipping การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะหนีบเส้นเลือสมองโป่งพอง เป็นวิธีที่ดีที่สุด คือ ใส่คลิป (Clip)หนีบที่คอ (Neck) ของ Aneurysm เพื่อไม่ให้เลือดผ่านเข้า Aneurysm
Vascular bypass(Revascularization) การตัดต่อเส้นเลือดสมองเพื่อ เพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองในกรณีที่มีการทำลาย(Sacrifice)เส้นเลือดในFusiform aneurysm หรือ Giant aneurysm
4.Craniotomy resection of AVM,AVF การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะตัดเส้นเลือดผิดปกติออก
5.CSF Diversion การผ่าตัดเปลี่ยนทางเดินน้ำหล่อ โพรงสมองเมื่อเกิดภาวะน้ำคั่งในโพรงสมอง ผ่าตัดระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(Ventriculostomy),ระบายลงช่องท้อง(VP.shunt)
S/P frontal venticulostomy with EVD
(17/10/65)
ผ่าตัด 22/10/65 Ventriculoperitoneal shunt
ใช้เวลาผ่าตัด 1ชม . 5นาที blood loss 5ml
เสี่ยงต่อภาวะติดเชื้อที่เยื่อหุ้มสมอง เนื่องจากมีแผลเปิดของผิวหนังบริเวณศีรษะ
SD: ผู้ป่วยให้ประวัติว่า “ขับรถชนสุนัขขณะไปรับลูกสาวจากเรียนพิเศษไม่ได้ใส่หมวกกันน็อคล้มศีรษะกระแทกพื้น สลบไม่ได้สติดื่มเหล้า 3-4เป็ก ”
OD: พบแผลบริเวณศีรษะ2ตำแหน่ง ด้านขวา แผลแรกยาวประมาณ3cm เย็บด้วยskin staple 4ตัว แผลที่สองยาวประมาณ2cm เย็บด้วยskin staple 3ตัว ผลCT Brain22/10/65 พบ acute Hematoma ขนาด ได้รับการผ่าตัด Rt. VP shunt blood loss ~5ml 22/10/65 S/P Frontal ventriculostomy with EVD วันที่ผ่าตัด 17/10/65
ดูแลให้ยาantibiotic Dicloxacillin (500)1x4 PO ac ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันภาวะติดเชื้อ
ติดตามสัญญาณชีพทุก4ชม
สังเกตความรู้สึกตัวทุก2ชม
ดูแลให้ได้รับอาหารและสารน้ำอย่างเพียงพอ และเหมาะสม
ดูแลทำความสะอาดแผลด้วยหลัก aseptic technique เพื่อป้องกันการติดเชื้อของแผล
6.Decompressive craniectomy การผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะลดความดันในกะโหลกศีรษะ
การรักษาด้วยยา
Atorvastatin (40) 1xhs
ยาลดไขมันในเลือด
Gabapentin (300) 1x hs
ป้องกันการชัก
Vit B 12 1x3 PO PC
เพิ่มปริมาณวิตามินบี เพื่อป้องกันภาวะชัก
Senokot 3tab PO hs
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยไม่มีอาการท้องผูก และป้องกันการเบ่งถ่าย ซึ่งจะส่งผลทำให้เกิด Valsalva Manuever
Dilantin (100) 3xhs
ป้องกันการเกิดการชักเนื่องจากมีความผิดปกติที่สมองจากการเลือดออกที่ชั้นเยื่อหุ้มสมอง subarachnoid
Case
Case
Case
Case
Case
Case
Case
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
Case